Now showing items 1-19 of 19

    • การควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย: จากผลการศึกษาต้นทุนความเจ็บป่วยสู่ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 

      มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; ทิวารัตน์ วุฒิศรัย; พัทธรา ลีฬหวรงค์; นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Montarat Thavorncharoensap; Tivarat Woothisai; Pattara Leelahavarong; Naiyana Praditsitthikorn; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-12)
      ผลจากการทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับต้นทุนความเจ็บป่วยของการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์พบว่าการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจเป็นมูลค่ามหาศาล ทั้งนี้ผลกระทบจากการสูญเสียผลิตภาพทั้งจากการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรแล ...
    • การจัดลำดับความสำคัญภาวะสุขภาพและโรคไม่ติดต่อของคนต่างด้าวในประเทศไทย 

      ศุภวรรธน์ เพิ่มผลสุข; Suppawat Permpolsuk; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; มณีโชติรัตน์ สันธิ; Maneechotirat Santi; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      ในปี 2547 กระทรวงสาธารณสุขได้มีการประกาศขายบัตรประกันสุขภาพให้คนต่างด้าวที่ไม่มีสิทธิในหลักประกันสุขภาพใดๆ โดยคนต่างด้าวที่ผ่านการตรวจสุขภาพจะได้รับอนุญาตให้ทำงานและซื้อบัตรประกันสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข ทั้งนี้ ...
    • การทบทวนและพัฒนาข้อเสนอเพื่อการปรับปรุงชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้บัตรประกันสุขภาพคนต่างด้าว 

      ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; ศรวณีย์ อวนศรี; Sonvanee Uansri; มณีโชติรัตน์ สันธิ; Maneechotirat Santi; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-30)
      กระทรวงสาธารณสุขออกมาตรการในการประกันสุขภาพสำหรับคนต่างด้าวที่ไม่มีสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลใดๆ ชุดสิทธิประโยชน์ภายใต้บัตรประกันสุขภาพนี้มีการปรับเปลี่ยนไม่มากนักในช่วงเวลา 10 ปีที่ผ่านมา การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื ...
    • การประเมินความคุ้มค่าและความเป็นไปได้ของการตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคพันธุกรรมเมตาบอลิกด้วยเทคโนโลยี Tandem Mass Spectrometry (MS/MS) 

      รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; ภคนันท์ อังกาบ; Pakkanan Angkab; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; ธมลวรรณ ดุลสัมพันธ์; Thamonwan Dulsamphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      โรคพันธุกรรมเมตาบอลิกเป็นโรคหายากซึ่งประกอบด้วยโรคหลายร้อยชนิด อาการและอาการแสดงของโรคพันธุกรรมเมตาบอลิกสามารถเลียนแบบโรคในเด็กได้เกือบทุกโรค ซึ่งอาการแสดงอาจคล้ายโรคติดเชื้อ เช่น ซึม ไม่ดูดนม อาเจียน ชัก หอบ เป็นต้น ...
    • การประเมินความคุ้มค่าและความเป็นไปได้ของบริการตรวจเพทซีทีในประเทศไทย 

      วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; มณีโชติรัตน์ สันธิ; Maneechotirat Santi; ณัฐกานต์ บุตราช; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; จักรมีเดช เศรษฐนันท์; Chakmeedaj Sethanandha; ชนิสา โชติพานิช; Chanisa Chotipanich; เจษฎาพร พร้อมเที่ยงตรง; Chetsadaporn Promteangtong; อัญชิสา คุณาวุฒิ; Anchisa Kunawudhi; ดริส ธีระกุลพิศุทธิ์; Daris Theerakulpisut; อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)
      รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อนำเสนอโครงการประเมินความคุ้มค่าและความเป็นไปได้ของบริการตรวจเพทซีทีในประเทศไทย ซึ่งผ่านการมีส่วนร่วมจากหลายฝ่าย ทบทวนและอ้างอิงหลักฐานทางวิชาการ โดยมีกระบวนการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลโดยผู้ท ...
    • การประเมินผลกระทบและความคุ้มค่าของวัคซีนโควิดที่พึงประสงค์เพื่อใช้ในการพัฒนาและคัดเลือกวัคซีนสำหรับใช้ในประเทศไทย 

      พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; นันทสิทธิ์ เหลืองอาสนะทิพย์; Nantasit Luangasanatip; วิริชดา ปานงาม; Wirichada (Pongtavornpinyo) Pan-ngum; สมภพ ศรลัมพ์; Sompob Saralamba; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; Clapham, Hannah E.; Painter, Christopher Matthew Neil; Yi, Wang; Park, Minah (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-04-30)
      นับแต่มีการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เมื่อต้นปี พ.ศ. 2563 ทำให้มีผู้ติดเชื้อไปแล้วกว่า 100 ล้านคนและเสียชีวิตมากกว่า 2 ล้านคนทั่วโลก ถึงแม้ประเทศไทยจะประสบความสำเร็จในการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค จากสถานการณ ...
    • การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพโดยคณะทำงานด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข ภายใต้คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ รอบปี พ.ศ. 2559-2561 

      นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09-30)
      ประเทศไทยได้พยายามพัฒนากรอบบัญชียาจำเป็นหรือยาหลักแห่งชาติมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งในปี พ.ศ. 2551 มีการนำข้อมูลความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขและการวิเคราะห์ผลกระทบด้านงบประมาณมาเป็นส่วนหน ...
    • การประเมินโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล ระยะที่ 2 

      รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; อารยา ญาณพิบูลย์; Araya Yanpiboon; กุนที พลรักดี; Kunnatee Ponragdee; อรรถวิทย์ ยางธิสาร; Atthawit Yangtisan; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; อกนิฏฐา พูนชัย; Akanittha Poonchai; สุพัฒศิริ อึ้งมณีภรณ์; Supatsiri Uengmaneeporn; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-11)
      ความแออัดของโรงพยาบาลรัฐบาลขนาดใหญ่ที่ทำให้ผู้ป่วยรอรับบริการนานเป็นปัญหาเรื้อรังในระบบสุขภาพไทย ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพการให้บริการและความพึงพอใจของผู้ป่วย ในปี พ.ศ. 2560 กระทรวงสาธารณสุขประกาศนโยบายลดความแออัดในโรงพยาบาลใหญ่โดยใช้ ...
    • การพัฒนาคู่มือการประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพสำหรับประเทศไทย ฉบับที่ 3 

      ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; สลักจิต ชื่นชม; Salakjit Chuenchom; ณัฐธิดา มาลาทอง; Natthida Malathong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02)
      การประเมินเทคโนโลยีด้านสุขภาพ หรือ Health Technology Assessment (HTA) เป็นการศึกษาผลกระทบด้านบวกและลบที่เกิดขึ้น หรืออาจเกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีหรือนโยบายทั้งในปัจจุบันและอนาคต ซึ่งรวมถึงผลกระทบด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ ...
    • การวิเคราะห์การเข้าถึงยาบัญชียาหลักแห่งชาติ บัญชียา จ(2) 

      ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittirachakool; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      การเข้าถึงยา (access to medicine) ถือเป็นกุญแจสำคัญที่บ่งบอกความสำเร็จของระบบสาธารณสุขในประเทศนั้นๆ จากรายงานของ World Health Organization (WHO) ในปี 2004 ชี้ให้เห็นตัวเลข 1 ใน 3 ของประชากรของโลกยังไม่สามารถเข้าถึงยาที่ม ...
    • การศึกษาทบทวนระบบและพัฒนาข้อเสนอการบริหารเวชภัณฑ์จำเป็นที่มีปัญหาการเข้าถึงภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; อรพรรณ อ่อนจร; Orapan Onjon; กมลวรรณ เขียวนิล; Kamonwan Kiewnin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-04)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาระบบการบริหารจัดการระดับประเทศของไทย ซึ่งได้เริ่มดำเนินการในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 โดยสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งในขณะนั้นเป็นผู้นำนโยบายการประกาศมาตรการบังคับใช้สิทธิตามสิทธิบัตรโดยรัฐ ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านงบประมาณของการใช้ยาสูตร sofosbuvir/velpatasvir ในการรักษาโรคไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังทุกสายพันธุ์ในประเทศไทย 

      ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-10)
      ไวรัสตับอักเสบซี (hepatitis C virus หรือ HCV) เป็นเชื้อไวรัสก่อโรคที่ทำให้ผู้ติดเชื้อมีอาการตับอักเสบ (hepatitis) ติดต่อผ่านทางการรับเลือดและส่วนประกอบของเลือด สามารถก่อให้เกิดอาการเจ็บป่วยเพียงเล็กน้อยที่หายเองได้ภายในร ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายด้านเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขของการใช้ยาชีววัตถุและยาสังเคราะห์มุ่งเป้าต้านรูมาติกที่ปรับเปลี่ยนการดำเนินโรคในการรักษาผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ที่มีภาวะการอักเสบมาก 

      พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; ชลทิชา จันทร์แจ่ม; Chonticha Chanjam; ณัฐกานต์ บุตราช; Nuttakarn Budtarad; วันรัชดา คัชมาตย์; Wanruchda Katchamart; พงศ์ธร ณรงค์ฤกษ์นาวิน; Pongthorn Narongroeknawin; ทัศนีย์ กิตอำนวยพงษ์; Tasanee Kitumnuaypong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-02)
      วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และวิเคราะห์ผลกระทบด้านงบประมาณของยาต้านรูมาติกที่ปรับเปลี่ยนการดำเนินโรค (disease-modifying anti-rheumatic drugs; DMARDs) ในกลุ่มยาชีววัตถุ (biologic DMARDs; bDMARDs) ...
    • การเพิ่มการเข้าถึงยาราคาแพงในบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ.2551 : จากนโยบายสู่การปฏิบัติ 

      เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; รุ่งนภา คำผาง; พัทธรา ลีฬหวรงค์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Saowalak Turongkaravee; Waranya Rattanavipapong; Roongnapa Khampang; Pattara Leelahavarong; Yot Teerawattananon; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษากระบวนการนำนโยบายเพิ่มการเข้าถึงยาราคาแพงในบัญชียา จ (2) ของบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ.2551 ไปสู่การปฏิบัติโดยโครงการประกันสุขภาพภาครัฐ ได้แก่ โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โครงการสวัสดิการรักษาพย ...
    • ความคุ้มค่าของการตรวจคัดกรองโรคไวรัสตับอักเสบบีในประเทศไทย 

      นริสา ตัณฑัยย์; Narisa Tantai; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      โรคไวรัสตับอักเสบบีพบได้บ่อยในประชากรไทย เป็นสาเหตุสำคัญของตับแข็ง ตับวาย มะเร็งตับ ส่งผลต่อ คุณภาพชีวิต ค่าใช้จ่าย และทำให้ชีวิตสั้นลง ปัจจุบันไม่มีแนวทางคัดกรองระดับประชากรที่ชัดเจนและไม่มีการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการ ...
    • ต้นทุนประสิทธิผลของการตรวจคัดกรองผู้มีปัญหาการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ระดับประชากรในประเทศไทย 

      วริทธิ์ จันทรสถาพรจิต; Varit Chantarastapornchit; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-12)
      การดื่มแอลกอฮอล์เป็นปัจจัยสำคัญต่อภาระโรคในประชากรไทย โดยเฉพาะประชากรเพศชาย การคัดกรองผู้มีปัญหาจากการดื่มแอลกอฮอล์เพื่อให้คำแนะนำอย่างสั้นอาจช่วยลดปัญหานี้ได้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ...
    • ประสบการณ์ของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงที่ได้รับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยสองแห่งในกรุงเทพมหานคร 

      สุรชัย โกติรัมย์; พัทธรา ลีฬหวรงค์; กลีบสไบ สรรพกิจ; สุรเดช หงส์อิง; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Surachai Kotirum; Pattara Leelahavarong; Kleebsabai Sanpakit; Suradej Hongeng; Yot Teerawattananon; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การศึกษาเชิงคุณภาพนี้ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อศึกษาประสบการณ์ของผู้ดูแลหลักของผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงที่ได้รับการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดเม็ดเลือดที่ประสบความสำเร็จในศูนย์ให้บริการปลูกถ่ายฯ 2 แห่ง ...
    • ผลการดำเนินงานและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคัดเลือกยาเข้าสู่บัญชี จ(2) ของบัญชียาหลักแห่งชาติ 

      ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee; วิทธวัช พันธุมงคล; Witthawat Pantumongkol; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakul; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich; ชนิดา เอกอัครรุ่งโรจน์; Chanida Ekakkararungroj (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      บัญชี จ(2) เป็นบัญชีย่อยที่เพิ่มเข้าสู่บัญชียาหลักแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีความจำเป็นเฉพาะสามารถเข้าถึงยาราคาแพงได้อย่างเสมอภาคและเท่าเทียมในทุกสิทธิการรักษา โดยมีคณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่ง ...
    • ผลลัพธ์การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ด้วยระบบการแยกกักตัวที่บ้าน 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn; ราม รังสินธุ์; Ram Rangsin; กิตติ วงศ์ถาวราวัฒน์; Kitti Wongthavarawat; อรุโณทัย ศิริอัศวกุล; Arunotai Siriussawakul; ปารวี ชีวะอิสระกุล; Parawee Chevaisrakul; วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ; Varalak Srinonprasert; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; สายรัตน์ นกน้อย; Sairat Noknoy; ยุพดี ศิริสินสุข; Yupadee Sirisinsuk; ธีระบูลย์ เลิศวณิชย์วัฒนา; Teeraboon Lertwanichwattana; พุทธภูมิ ลำเจียกเทศ; Putthapoom Lumjiaktase; ศิรินภา ศิริพร ณ ราชสีมา; Sirinapa Siriporn Na Ratchaseema; พงศ์ธร เกียรติดำรงวงศ์; Pongtorn Kietdumrongwong; นิตยา ภานุภาค; Nittaya Phanuphak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      สถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ของประเทศไทย พบว่า เกิดความรุนแรงถึงระดับภาวะวิกฤตทางด้านสาธารณสุข จากการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระลอกที่ 3 ตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2564 โดยเกิดภาวะวิกฤตสูงสุดในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงกันยายน ...