Now showing items 1-4 of 4

    • การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์ของมาตรการคัดกรองเบาหวานในประชากรไทย 

      สุคนธา คงศีล; Sukhontha Kongsin; วีรชัย ศรีวณิชชากร; Weerachai Srivanichakorn; เพชร รอดอารีย์; Petch Rawdaree; พิจิตรพงศ์ สุนทรพิพิธ; Pichitpong Soontornpipit; ณัฐนารี เอมยงค์; Natnaree Aimyong; รมนปวีร์ บุญใหญ่; Ramonpawee Boonyai; ณฐมน พรมอ่อน; Nathamon Prom-on; สุขุม เจียมตน; Sukhum Jiamton; พจมาน พิศาลประภา; Pochamana Phisalprapa; กฤช ลี่ทองอิน; Grit Leetongin; อรรถเกียรติ กาญจนพิบูลวงศ์; Auttakiat Karnjanapiboonwong; พรรณทิพย์ ตันติวงษ์; Puntip Tantiwong; รัชดา พิพัฒน์ศาสตร์; Rachada Pipatsart; อัญชลี รุ่งศรี; Uncharee Rungsri; วรัญญา ปานเมือง; Waranya Panmuang; ธัญยชนก หมื่นมะโน; Tanyachanok Moenmano; ศิริกัลยา กองพันธ์; Sirikanya Kongpan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-12)
      ภูมิหลังและเหตุผล: การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานประเภทที่ 2 (type2 diabetes: T2DM) ในประชากรทั่วไปมีจำกัด การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินต้นทุน-อรรถประโยชน์ของกลยุทธ์การคัดกรอง T2DM ...
    • การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์และความเป็นไปได้ของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA โดยชุดเก็บตัวอย่างด้วยตัวเองในประเทศไทย 

      พจมาน พิศาลประภา; Pochamana Phisalprapa; สุรศักดิ์ เสาแก้ว; Surasak Saokaew; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ธเนศ ชัยสถาผล; Thanet Chaisathaphol; กิรติ เก่งกล้า; Kirati Kengkla; สุกฤษฏิ์ กาญจนสุระกิจ; Sukrit Kanchanasurakit; ชญานิศ โฆสิตะมงคล; Chayanis Kositamongkol; เอื้อรัตน์ มีประมูล; Euarat Mepramoon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ที่มา : มะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่มีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับ 3 ในสตรีไทย แม้ว่าปัจจุบันสตรีไทยจะมีสิทธิในเข้าถึงบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก แต่อุบัติการณ์และอัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกในประเทศไทยก็ยังคงสูง ...
    • การเพิ่มสิทธิประโยชน์การรักษาผู้ป่วยโรค HAE (Hereditary Angioedema) ที่เกิดจากความผิดปกติของเอนไซม์ C1 esterase inhibitor: C1-INH 

      สุรศักดิ์ เสาแก้ว; Surasak Saokaew; พจมาน พิศาลประภา; Pochamana Phisalprapa; กิรติ เก่งกล้า; Kirati Kengkla; สุกฤษฏิ์ กาญจนสุระกิจ; Sukrit Kanchanasurakit; ชญานิศ โฆสิตะมงคล; Chayanis Kositamongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      โรค Hereditary angioedema (HAE) เป็นโรคทางพันธุกรรมหายากที่คุกคามชีวิตผู้ป่วย โรคนี้สามารถนำไปสู่การเกิดอาการกำเริบเฉียบพลัน โดยมีอาการบวมอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นในบริเวณต่างๆ เช่น ใบหน้า ทางเดินอาหารและกล่องเสียง ...
    • การใช้แร่เฉพาะที่เพื่อใช้ในการรักษาผู้ป่วยที่มีเนื้องอกในตา 

      สุรศักดิ์ เสาแก้ว; Surasak Saokaew; พจมาน พิศาลประภา; Pochamana Phisalprapa; กิรติ เก่งกล้า; Kirati Kengkla; สุกฤษฏิ์ กาญจนสุระกิจ; Sukrit Kanchanasurakit; ชญานิศ โฆสิตะมงคล; Chayanis Kositamongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)
      ที่มาและความสำคัญ : การรักษาด้วยการวางแร่ (Eye Plaque Brachytherapy) เป็นการรักษาทางเลือกใหม่ที่กำลังมีการใช้อย่างแพร่หลาย มีประสิทธิภาพในการรักษาไม่ต่างจากการฉายรังสีแบบภายนอกในแง่ของการควบคุมมะเร็ง ลดอัตราการกลับเป็นซ้ำ ...