Now showing items 1-20 of 23

    • Demand for voluntary counseling and testing among male who have sex with male, Thailand 

      Wongsa Laohasiriwong; Suwat Chariyalertsak; Siriwan Pitayarangsarit; Nakorn Apakupakul; Pattara Sanchaisuriya; Chawewan Yenjitr; Artitaya Tiampriwan; Viroj Tangcharoensathien; Virasakdi Chongsuvivatwong (2008-12-04)
    • Health impacts of rapid economic changes in Thailand 

      Viroj Tangcharoensathien; Harnvoravongchai P; Siriwan Pitayarangsarit; Vijj Kasemsup (International Health Policy Program, 2000)
    • International service trade and its implications for human resources for health: a case study of Thailand 

      Suwit Wibulpolprasert; Cha-aim Pachanee; Siriwan Pitayarangsarit; Pintusorn Hempisut (International Health Policy Program, 2547)
    • The Potential demand for an AIDS vaccine in Thailand 

      Viroj Tangcharoensathien; Wiput Phoolcharoen; Siriwan Pitayarangsarit; Sukhontha Kongsin; Vijj Kasemsup; Sripen Tantivess; Chutima Suraratdecha (International Health Policy Program, 2544)
    • กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบทบาทองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นในการสร้างเสริมสุขภาพ 

      หทัยชนก สุมาลี; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; จิรบูรณ์ โตสงวน; Hathaichanok Sumalee; Siriwan Pitayarangsarit; Jiraboon Tosanguan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)
      ในเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพมีกฎหมายมาเกี่ยวข้องมากมายหลายฉบับ แม้แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ก็ยังได้บัญญัติให้รับรองสิทธิของบุคคลในการรับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ รับรองสิทธิของบุคคลในการได้รับข ...
    • กรอบนโยบายและยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนระบบสุขภาพในประเทศบราซิล สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร: บทเรียนสำหรับการจัดทำรัฐธรรมนูญสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2551 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; Hathaichanok Sumalee; Siriwan Pitayarangsarit; ลลิดา เขตต์กุฎี; Lalida Khetkudee; เยาวลักษณ์ จิตตะโคตร์; Yaowalak Jittakoat; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-04)
      บัญญัติสุขภาพแห่งชาติ เป็นกฎหมายแม่บทด้านสุขภาพ มุ่งหวังเพื่อให้เป็นเครื่องมือของทุกฝ่ายในสังคมใช้ร่วมกัน โดยวางยุทธศาสตร์เพื่อเปิดทางให้ทุกฝ่ายในสังคมเป็นเจ้าของ ดูแลรับผิดชอบร่วมกัน และกำหนดให้ตราธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภ ...
    • การกระจายอำนาจด้านการส่งเสริมสุขภาพในประเทศเม็กซิโก สวีเดน และนิวซีแลนด์ 

      จิรบูรณ์ โตสงวน; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; Jiraboon Tosanguan; Siriwan Pitayarangsarit; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      หลายประเทศได้เลือกใช้กฎบัตรอ๊อตตาวาเป็นแม่แบบในการพัฒนานโยบายการสร้างเสริมสุขภาพ สำหรับทุกประเทศที่ศึกษานี้ได้ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของชุมชน ประเทศเม็กซิโกกำหนดองค์ประกอบในการส่งเสริมสุขภาพสำหรับการประเมินการสร้า ...
    • การกระจายอำนาจด้านสุขภาพในต่างประเทศ 

      จิรบูรณ์ โตสงวน; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; Jiraboon Tosanguan; Siriwan Pitayarangsarit; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      การกระจายอำนาจเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งในการพัฒนาระบบสุขภาพที่อาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น เช่น เพิ่มประสิทธิภาพทำให้มีการตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนได้รวดเร็วและตรงจุดมากขึ้น ตรวจสอบง่ายขึ้น, Rondinelli ...
    • การทบทวนข้อแนะนำเชิงนโยบายด้านอาหารและโภชนาการในโรงเรียนจากองค์การระหว่างประเทศและการดำเนินงานของประเทศไทย 

      กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; อรทัย วลีวงศ์; Orratai Waleewong; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit; พเยาว์ ผ่อนสุข; Payao Phonsuk; ณัฎฐณิชา แปงการิยา; Nattanicha Pangkariya; สรศักดิ์ เจริญสิทธิ์; Sorasak Charoensit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนข้อแนะนำเชิงนโยบายด้านอาหารและโภชนาการในโรงเรียนจากองค์การระหว่างประเทศและการดำเนินงานของประเทศไทย ศึกษาโดยใช้วิธีการทบทวนเอกสารเครื่องมือนโยบายจากองค์การระหว่างประเทศ ได้แก่ คณะมนตรีสิ ...
    • การทบทวนบทเรียนจากต่างประเทศเพื่อเป็นองค์ความรู้ในการกำหนดกระบวนการจัดทำธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษานี้เป็นการทบทวนเอกสารเพื่อถอดบทเรียนจากประเทศบราซิล สหรัฐอเมริกา และอังกฤษ ที่เกี่ยวกับการจัดทำแนวนโยบายและยุทธ์ศาสตร์เพื่อการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ วิวัฒนาการและบริบท กระบวนการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ และการประเมินผลการปฏิรูป ...
    • การประเมินผลการจัดบริการช่วยเลิกบุหรี่ในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 

      หทัยชนก สุมาลี; Hathaichanok Sumalee; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit; ประภาพรรณ เอี่ยมอนันต์; Praphaphan Iamanan; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสถานการณ์ระบบบริการช่วยเลิกบุหรี่ในประเทศไทยในช่วงปี 2550-2555 และปัจจัยความสำเร็จ รวมทั้งสรุปบทเรียนสำหรับการพัฒนารูปแบบบริการช่วยเลิกบุหรี่ที่เหมาะสมในอนาคต โดยการทบทวนวรรณกรรม ...
    • การพัฒนาระบบเฝ้าระวังการตลาดของผลิตภัณฑ์ที่มีผลเสียต่อสุขภาพ 

      นงนุช ใจชื่น; Nongnuch Jaichuen; ธนพันธ์ สุขสอาด; Thanaphan Suksa-ard; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      การศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการศึกษาสถานการณ์ระบบการควบคุมการทำการตลาดของผลิตภัณฑ์ที่มีผลเสียต่อสุขภาพ ซึ่งมีอยู่ 4 กลุ่มผลิตภัณฑ์ด้วยกัน คือ อาหารทั่วไป ผลิตภัณฑ์ทดแทนนมแม่ ยาสูบและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โดยมีวัตถุประส ...
    • การศึกษาผลจากการดำเนินนโยบายงานศพปลอดเหล้าในจังหวัดลำปาง 

      กัณณพนต์ ภักดีเศรษฐกุล; Kannapon Phakdeesettakun; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; ทักษพล ธรรมรังสี; Thaksaphon Thamarangsi; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลจากการดำเนินนโยบายงานศพปลอดเหล้า ที่เริ่มดำเนินการครั้งแรกในจังหวัดลำปางในปี พ.ศ. 2551 โดยทำการเปรียบเทียบการดำเนินการขับเคลื่อนระหว่างพื้นที่ที่ดำเนินการแล้วประสบความสำเร็จ ...
    • ข้อจำกัดและโอกาสในการจัดการกับวิกฤติโรคเรื้อรังในประเทศไทยด้วยมาตรการระดับประชากรตามข้อแนะนำขององค์การอนามัยโลก 

      ทักษพล ธรรมรังสี; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; ประภาพรรณ เอี่ยมอนันต์; สิรินทร์ยา พูลเกิด; สุลัดดา พงษ์อุทธา; อรทัย วลีวงศ์; อรรถยา ลิ้มวัฒนายิ่งยง; Thaksaphon Thamarangsi; Siriwan Pitayarangsarit; Prapapun Iam-anan; Sirinya Phulkerd; Suladda Ponguttha; Orratai Waleewong; Attaya Limwattanayingyong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-12)
      โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญที่สุดในประเทศไทย เมื่อพิจารณาจากการเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งของทั้งการเสียชีวิตและการเจ็บป่วย ในรายงานสถานะของโรคไม่ติดต่อปี 2553 ขององค์การอนามัยโลกมีข้อเสนอแนะมาตรการระดับประชากร ...
    • คำถามการวิจัยเพื่อการควบคุมยาสูบ : การวิเคราะห์เอกสารและทัศนะจากผู้เชี่ยวชาญ 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; ประภาพรรณ เอี่ยมอนันต์; หริสร์ ทวีวัฒนา; สุวัฒนา ไพรแก่น; สริญญา เลาหพันธ์พงศ์; ศิริเพ็ญ อรุณประพันธ์; Siriwan Pitayarangsarit; Suwatthana Praikean; Prapapun Iamanun; Sarinya Laohapanpong; Haris Taveeputtana; Siripen Arunpraphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)
      วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ส่วนขาดในการผลักดันนโยบายด้านการควบคุมยาสูบในประเทศไทย โดยการวิเคราะห์ และวิจัยทบทวนเอกสาร ภายในกรอบประเด็นที่มีความสำคัญในเชิงนโยบาย พิจารณาจากกรอบอนุสัญญาว่าด้วย ...
    • ต้นทุนดำเนินการของสถานีอนามัยในจังหวัดสมุทรสาครปีงบประมาณ 2542 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit; ธีรธัช กันตามระ; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การศึกษาต้นทุนของสถานีอนามัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อทราบต้นทุนรวมของสถานีอนามัย และต้นทุนต่อหน่วยบริการประเภทต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการบริหารจัดการการเงินของทั้งโรงพยาบาลบ้านแพ้ว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ...
    • ทางเลือกการปฏิรูปอุตสาหกรรมยาสูบของประเทศไทย 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit; กนิษฐา มากมูล; Kanidta Makmool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาเปรียบเทียบแนวคิด สถานการณ์และวิธีการปฏิรูปอุตสาหกรรมยาสูบของรัฐในประเด็นทางด้านการควบคุมยาสูบ การปกครองและข้อตกลงทางการค้าของประเทศต่างๆ (2) วิเคราะห์ฉากทัศน์ของบริบทด้านการปกครอง ...
    • ทางเลือกเชิงนโยบายเรื่องกองทุนสร้างเสริมความสัมพันธ์ในระบบบริการสาธารณสุข 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; หทัยชนก สุมาลี; Siriwan Pitayarangsarit; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)
      อาการไม่พึงประสงค์จากการรับบริการสุขภาพไม่ว่าจะเป็นเหตุสุดวิสัยหรือจากความประมาทของผู้ให้บริการก็ตามนำมาซึ่งความสูญเสีย และความขัดแย้งระหว่างผู้รับและผู้ให้บริการรักษา และมีผลกระทบต่อระบบบริการด้านสุขภาพของประเทศ ...
    • ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนไทย พ.ศ. 2543-2546 : ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 

      ธเรศ กรัษนัยรวิวงค์; Tares Krassanairawiwong; เพ็ญแข ลาภยิ่ง; Phenkhae Lapying; ศิริเกียรติ เหลียงกอบกิจ; Sirikiat Liangkobkit; สมหญิง สายธนู; Somying Saithanu; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการเติบโตที่ยั่งยืนของธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนไทย โดยมีผลกระทบทางลบน้อยที่สุดต่อสาธารณสุขของประเทศ การศึกษาทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ ประกอบด้วยการวิเคราะห์เชิงพรรณนา 2 ...
    • นโยบายและกฎหมายแอลกอฮอล์ ในประเทศ CLMV 

      กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; ฤชากร ไตรรัตนานุสรณ์; Ruechagorn Trairatananusorn; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ช่องว่างของมาตรการและกฎหมายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประเทศกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม (CLMV) ในการศึกษานี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้ยุทธศาสตร์ระดับโลกเพื่อลดการดื่มสุร ...