Now showing items 1-20 of 30

    • Catastrophic and poverty impacts of health payments: results from national household surveys in Thailand 

      Supon Limwattananon; Viroj Tangcharoensathien; Phusit Prakongsai (International Health Policy Program, 2007)
    • Private-public mix in woman and child health in low-income countries: an analysis of demographic and health surveys 

      Supon Limwattananon (Health Systems Research Institute, 2551-10)
      Achieving the maternal and child health Millennium Development Goals (MDGs 4 and 5) is still a grand challenge to several low-income countries (LIC). An analysis of the most recent (2001-2006) Demographic and Health Survey ...
    • Research for development of an optimal policy strategy for prevention and control of cervical cancer in Thailand 

      Viroj Tangcharoensathien; Supon Limwattananon; Radom Chaugwon; Naiyana Praditsitthikorn; Yot Teerawattananon; Sripen Tantivess (2551-08)
    • The Validity of a new practical quality of life measure in patients on renal replacement therapy 

      Areewan Cheawchanwattana; Chulaporn Limwattananon; Gross, Cynthia; Supon Limwattananon; Viroj Tangcharoensathien; Cholatip Pongskul; Dhavee Sirivongs (International Health Policy Program, 2006)
    • การควบคุมราคายา: บทเรียนจากอดีต ข้อค้นพบปัจจุบัน และข้อเสนอสำหรับอนาคต 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; พรพิศ ศิลขวุธท์; ภูษิต ประคองสาย; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Supon Limwattananon; Chulaporn Limwattananon; On-anong Waleekhachonloet; Pornpit Silkavute; Phusit Prakongsai; Weerasak Puthasri; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      การควบคุมราคายาเป็นส่วนหนึ่งของการจำกัดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ บทความนี้ทบทวนวิธีควบคุมราคายาในประเทศที่พัฒนาแล้ว วิเคราะห์ประสบการณ์ที่ผ่านมาของประเทศไทยในการควบคุมราคายาภาครัฐ และนำเสนอข้อค้นพบล่าสุดของแผนงานวิจัยราคายา ...
    • การจัดระบบและคาดการณ์งบประมาณเพื่อชดเชยค่าบริการทางการแพทย์กรณีส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับเด็กต่างด้าว 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; สิรินาฏ นิภาพร; Sirinard Nipaporn; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; ประภาพร นพรัตยาภรณ์; Prapaporn Nopparattayaporn; วราภรณ์ ปวงกันทา; Waraporn Poungkantha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-07-31)
      การขยายหลักประกันสุขภาพให้ครอบคลุมบุคคลทุกคนบนแผ่นดินไทยนั้น มีความพยายามในการดำเนินการมาอย่างต่อเนื่องดังปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษร ในวิสัยทัศน์ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) รวมถึงแผนแม่บทการแก้ปัญหาและพัฒนาง ...
    • การดูแลรักษาพยาบาลตนเองของประชาชนไทยโดยการซื้อยาจากร้านขายยาแผนปัจจุบัน 

      รังสรรค์ ศรีภิรมย์; Rangsan Sripirom; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachodpanich; ภานุมาศ ภูมาศ; Panumas Phumas; สุมนต์ สกลไชย; Sumon Sakolchai; กรแก้ว จันทภาษา; Kornkaew Chantapasa; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ามีเป้าหมายให้คนไทยเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่จำเป็น เพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของครัวเรือน อย่างไรก็ตามยังมีประชาชนที่ไม่ไปใช้บริการในสถานพยาบาล แต่ซื้อยามารักษาตนเองจากร้านยา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นย ...
    • การพัฒนาเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพระบบเภสัชกรรมในโรงพยาบาลชุมชน 

      ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotphanit; สุพล ลิมวัฒนานนท์; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; กิตติ พิทักษ์นิตินันท์; Supon Limwattananon; Chulaporn Limwattananon; Kitti Pitaknitinan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพระบบเภสัชกรรมโรงพยาบาลชุมชนด้วยการนำแบบจำลอง Data envelopment analysis มาประยุกต์ใช้ ผลการศึกษานำมาซึ่งตัวแปรที่สำคัญของปัจจัยนำเข้า คือ จำนวน full time ...
    • การลดความยากจนจากรายจ่ายด้านสุขภาพ : ผลลัพธ์ของหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsait (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-03)
      วัตถุประสงค์ที่สำคัญของการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทยนอกจากเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นของประชากรแล้ว การลดความเสี่ยงของครัวเรือนจากภาระค่าใช้จ่ายเมื่อเจ็บป่วยเป็นเป้าหมายที่สำคัญอีกประการหนึ่ง ...
    • การวิเคราะห์ผลกระทบของ COVID-19 ต่อระบบสาธารณสุขเพื่อเพิ่มความเข้มแข็งในการปรับตัวของระบบบริการต่อการระบาดและความยั่งยืนของระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; จารวี สุขมณี; Jarawee Sukmanee; ภิชารีย์ กรุณายาวงศ์; Picharee Karunayawong; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesopon; จุฬาทิพย์ บุญมา; Chulathip Boonma; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; วุฒิพันธ์ุ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol; ชุติมน สินธุประมา; Chutimon Sindhuprama; ขนิษฐา กู้ศรีสกุล; Khanitta Kusreesakul; ณัฐพัชร์ มรรคา; Nuttapat Makka; ปริญดา เสนีย์รัตนประยูร; Parinda Seneerattanaprayul; วราภรณ์ ปวงกันทา; Waraporn Poungkantha; เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich; จักร์วิดา อมรวิสัยสรเดช; Chakvida Amornvisaisoradej; จุฑาทิพย์ ทั่งทอง; Jutatip Thungthong; พูนชนะ วารีชัย; Poonchana Wareechai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-31)
      การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด-19 (COVID-19) ได้ลุกลามไปทั่วโลก และส่งผลกระทบต่อทุกคนในทุกหนแห่ง อย่างไรก็ตามแม้ว่าโควิด-19 จะส่งผลกระทบด้านลบหลายประการแต่ก็ทำให้นักวิจัยได้หาโจทย์และแนวทางในการสร้ ...
    • การศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์การให้บริการด้านการแพทย์และการจัดการเครือข่ายบริการของโรงพยาบาลรัฐและเอกชน กรณีโรคหัวใจ และโรคหลอดเลือดสมอง 

      พัชนี ธรรมวันนา; Patchanee Thamwanna; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotphanit; พัฒนาวิไล อินใหม; Phatthanawilai Inmai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-12)
      เขตพื้นที่กรุงเทพมหานครเป็นพื้นที่มีลักษณะเป็นมหานคร มีการปกครองรูปแบบพิเศษโดยองค์กรปกครองท้องถิ่นที่รับผิดชอบดูแลครอบคลุมพื้นที่ทั้งจังหวัด ตามพระราชบัญญัติกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 ภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ...
    • การสร้างดัชนีความลาดเอียงของความไม่เสมอภาค (Slope Index of Inequalities) ในการใช้บริการรักษาพยาบาลภาครัฐของประชากรในพื้นที่เขตสุขภาพ 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      สำหรับการวิเคราะห์ความไม่เสมอภาคในการใช้-ไม่ใช้บริการสุขภาพของประชากรในพื้นที่นั้น มาตรวัดที่แนะนำ คือ ดัชนีความลาดเอียงของความไม่เสมอภาค (slope index of inequalities) ซึ่งได้จากการหาความสัมพันธ์ของความแตกต่างระหว่างพื้น ...
    • การใช้บริการทันตกรรมของประชาชนไทย : ผลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; อังคณา สมนัสทวีชัย; Angkana Sommanustweechai; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      การศึกษานี้ใช้ข้อมูลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 ซึ่งเป็นการสำรวจระดับประเทศเพื่อวิเคราะห์รูปแบบการเข้ารับบริการทันตกรรมของประชาชนไทย การใช้สิทธิสวัสดิการเพื่อรับการรักษา รวมถึงค่าใช้จ่ายทางทันตกรรมที่เกิดขึ้น ...
    • การใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ในสถานพยาบาลประเภทต่างๆ ของประชากรไทย พ.ศ. 2558 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      ประเทศไทยได้เริ่มดำเนินโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอย่างจริงจังตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ส่งผลให้การเข้าใช้บริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในเพิ่มมากขึ้น การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้บริการด้านสุขภาพของประชากรไทยตามสิทธ ...
    • การใช้บริการรักษาพยาบาลของคนไทยที่ไม่มีหรือไม่ทราบสิทธิประกันสุขภาพ 

      ประสิทธิ บุญเกิด; Prasit Boonkerd; สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chanasopon; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotphanit; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      การศึกษานี้วิเคราะห์การใช้บริการรักษาพยาบาลโรคทั่วไปของคนไทยในกลุ่มที่ไม่มีสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลใดๆ หรือไม่ทราบสิทธิ รวมถึงไม่ได้รับการขึ้นทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า วิเคราะห์ข้อมูลลักษณะทางประชากร เศรษฐฐานะ ...
    • การใช้บริการรักษาพยาบาลแบบผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน และความจำเป็นทางสุขภาพที่ไม่ได้รับการตอบสนองของประชากรเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2558 

      จุฑาทิพ ทั่งทอง; Jutatip Thungthong; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chanasopon; คุณากร เอี้ยวสุวรรณ; Kunakorn Aewsuwan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      แม้การบรรลุระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 จะช่วยให้คนไทยทั้งประเทศเข้าถึงบริการสุขภาพได้มากขึ้น แต่ประชากรกรุงเทพฯ ก็ยังคงมีปัญหาเข้าถึงการรักษาพยาบาลมากที่สุด เนื่องจากโครงสร้างพื้นฐานระบบบริการสุขภาพของกรุงเทพฯ ...
    • คนไทยมีกิจกรรมทางกายเพียงพอตามเกณฑ์หรือไม่ : ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (adequate physical activity level) ในภาพรวมและจำแนกตามกลุ่มประชากรย่อยของประชากรไทยอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป จากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ ปี พ.ศ. 2558 ...
    • คนไทยใช้พลังงานในกิจกรรมทางกายและพฤติกรรมเนือยนิ่งเท่าไร: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพลังงานที่ใช้ในกิจกรรมทางกายระดับปานกลางและหนักและพฤติกรรมเนือยนิ่งของประชากรไทยทั้งประเทศ โดยจำแนกพลังงานที่ใช้ตามกลุ่มกิจกรรม ได้แก่ การทำงาน การเดินทาง นันทนาการ และพฤติกรรมเนือยนิ่ง ...
    • ความแตกต่างของพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทย: ลักษณะประชากร เศรษฐกิจและสังคม และสถานะสุขภาพส่งผลอย่างไร 

      ชัชวาลย์ เผ่าเพ็ง; Chatchawarn Paopeng; สุลัดดา พงษ์อุทธา; Suladda Pongutta; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมเป็นสาเหตุสำคัญที่นำไปสู่โรคอ้วนและโรคไม่ติดต่อเรื้อรังซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้ได้วิเคราะห์ความเกี่ยวข้องระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทยที่มีอายุ ...
    • ความไม่เป็นธรรมระหว่างผู้ให้บริการกับผู้รับบริการ 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon (คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2556-04-25)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ การวิจัยระบบสุขภาพประจำปี 2556 การจัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม วันที่ 25-26 เมษายน 2556 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร