Now showing items 1-20 of 22

    • กฎหมายควบคุมเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรีของประเทศไทยและต่างประเทศ 

      นงนุช ใจชื่น; Nongnuch Jaichuen; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-12)
      พระราชบัญญัติภาษีสรรพสามิต พ.ศ. 2560 ได้บัญญัติว่า เครื่องดื่มใดๆ ที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรี ไม่ถือว่าเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จึงมีผลให้เครื่องดื่มดังกล่าวไม่ถูกควบคุมฉลาก การโฆษณาและมาตรการอื่นๆ ภายใต้พระราช ...
    • การจำยี่ห้อผลิตภัณฑ์อาหารของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 

      นงนุช ใจชื่น; พเยาว์ ผ่อนสุข; สิรินทร์ยา พูลเกิด; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; ทักษพล ธรรมรังสี; Nongnuch Jaichuen; Payao Phonsuk; Sirinya Phulkerd; Surasak Chaiyasong; Thaksaphon Thamarangsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      หนึ่งในปัจจัยสำคัญของการเพิ่มขึ้นของภาวะโรคอ้วนในเด็ก คือ การโฆษณาของอุตสาหกรรมอาหาร ซึ่งมีอิทธิพลต่อความชอบอาหารและพฤติกรรมการบริโภคของเด็ก การโฆษณาจึงเป็นกลยุทธ์สำคัญทางการตลาดในการสร้างการจดจำยี่ห้ออาหาร โดยมีเป้าหมาย ...
    • การซื้อและการบริโภคอาหารและเครื่องดื่มของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 

      นงนุช ใจชื่น; สิรินทร์ยา พูลเกิด; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; ทักษพล ธรรมรังสี; Nongnuch Jaichuen; Sirinya Phulkerd; Surasak Chaiyasong; Thaksaphon Thamarangsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      การบริโภคอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวัยเด็กส่งผลต่อสุขภาวะรวมถึงการเจ็บป่วย การศึกษาพฤติกรรมการซื้อและการบริโภคอาหารของเด็กในประเทศไทยมีไม่มากนัก การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการซื้อและการบ ...
    • การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย : ผลจากการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และดื่มสุราของประชากร พ.ศ. 2550 

      สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; ทักษพล ธรรมรังสี; Thaksaphon Thamarangsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-06)
      วัตถุประสงค์: การสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และดื่มสุราของประชากร (สพบส.) ดำเนินการสำรวจโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติทุกๆ 3-4 ปี ในปี 2550 การสำรวจนี้ได้เพิ่มคำถามสำคัญสำหรับนโยบายแอลกอฮอล์ ได้แก่ ปริมาณการดื่ม การดื่มอย่างหนัก ...
    • การประเมินผลเชิงพัฒนาของโรงพยาบาลมหาสารคาม ภายใต้การประเมินผลโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล ระยะที่ 2 

      สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; จุฬารัตน์ ฮาดวิเศษ; Jularat Hadwiset; กาญจนาภรณ์ ตาราไต; Kanjanaporn Taratai; เพียงขวัญ ศรีมงคล; Piangkwan Srimongkhol; ร่มตะวัน กาลพัฒน์; Romtawan Kalapat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      ในปี 2562 รัฐบาลมีนโยบายโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการดำเนินโครงการฯ ในจังหวัดมหาสารคาม วิธีการวิจัย: วิธีวิจัยแบบผสมผสาน ศึกษารูปแบบการจัดบ ...
    • การวิจัยและพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อป้องกันการสั่งใช้ยาซ้ำซ้อนในโรงพยาบาลมหาสารคาม 

      ชุติมาภรณ์ ไชยสงค์; Chutimaporn Chaiyasong; พิริยา ติยาภักดิ์; Piriya Tiyapak; กาญจนาภรณ์ ตาราไต; Kanjanaporn Taratai; สถาพร ณ ราชสีมา; Sathaporn Na Rajsima; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      ภูมิหลังและเหตุผล: การใช้ยาซ้ำซ้อนนับเป็นการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผลชนิดหนึ่งซึ่งนอกจากจะส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยาจนเป็นอันตรายแก่ผู้ป่วยแล้ว ยังทำให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายโดยไม่จำเป็น ปัจจุบันการศึกษาเรื่องก ...
    • การศึกษาผลจากการดำเนินนโยบายงานศพปลอดเหล้าในจังหวัดลำปาง 

      กัณณพนต์ ภักดีเศรษฐกุล; Kannapon Phakdeesettakun; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; ทักษพล ธรรมรังสี; Thaksaphon Thamarangsi; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลจากการดำเนินนโยบายงานศพปลอดเหล้า ที่เริ่มดำเนินการครั้งแรกในจังหวัดลำปางในปี พ.ศ. 2551 โดยทำการเปรียบเทียบการดำเนินการขับเคลื่อนระหว่างพื้นที่ที่ดำเนินการแล้วประสบความสำเร็จ ...
    • ความยินดีจ่ายสำหรับบริการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น 

      พสิษฐ์ พัจนา; Phasith Phatchana; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; ร่มตะวัน กาลพัฒน์; Romtawan Kalapat; นวลจันทร์ แสนกอง; Nuanchan Sankong; กฤษณี สระมุณี; Kritsanee Saramunee; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; กุลปรียา โพธิ์ศรี; Kulpreya Phosri; ภิเษก ระดี; Bhisek Radee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อวิเคราะห์มูลค่าความยินดีจ่ายสำหรับบริการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความยินดีจ่าย กลุ่มตัวอย่างของการศึกษา คือ ประชากรอายุ 18 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ในตำบลสะอา ...
    • ความแตกต่างของพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทย: ลักษณะประชากร เศรษฐกิจและสังคม และสถานะสุขภาพส่งผลอย่างไร 

      ชัชวาลย์ เผ่าเพ็ง; Chatchawarn Paopeng; สุลัดดา พงษ์อุทธา; Suladda Pongutta; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมเป็นสาเหตุสำคัญที่นำไปสู่โรคอ้วนและโรคไม่ติดต่อเรื้อรังซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้ได้วิเคราะห์ความเกี่ยวข้องระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทยที่มีอายุ ...
    • ต้นทุน-ประสิทธิผลของ Alendronate (ยาสามัญ) และ Risedronate (ยาต้นแบบ) สำหรับการป้องกันแบบปฐมภูมิของกระดูกหักในหญิงวัยหมดประจำเดือนที่มีปัจจัยเสี่ยง 

      ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; สุรัชดา กองศรี; ภาณุมาศ ภูมาศ; บัญญัติ สิทธิธัญกิจ; Thananan Rattanachotphanit; On-anong Waleekhachonloet; Surasak Chaiyasong; Suratchada Kongsri; Panumart Phumart; Bunyat Sitthithanyakit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      การศึกษานี้วิเคราะห์ต้นทุน-ประสิทธิผลของ Alendronate (ที่เป็นยาชื่อสามัญ) และ Risedronate (ที่เป็นยาต้นแบบ) ในการป้องกันแบบปฐมภูมิของการเกิดกระดูกหักในหญิงวัยหมดประจำเดือนที่มีปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ ข้ออักเสบรูห์มาตอยด์, ใช้ ...
    • ต้นทุนการดูแลผู้ป่วยมะเร็งแบบประคับประคองของโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดขอนแก่น 

      พิมประภา แวนคุณ; Pimprapa Vankun; กฤษณี สระมุณี; Kritsanee Saramunee; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      การดูแลแบบประคับประคองเป็นขั้นตอนสำคัญของการดูแลผู้ป่วยมะเร็งโดยเฉพาะเมื่อเข้าสู่ระยะท้าย องค์การอนามัยโลกได้กล่าวไว้ว่าการดูแลแบบประคับประคองนั้นมีต้นทุนต่ำ แต่การศึกษาต้นทุนของบริการประเภทนี้ในประเทศไทยยังมีจำกัด ...
    • นโยบายและกฎหมายแอลกอฮอล์ ในประเทศ CLMV 

      กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; ฤชากร ไตรรัตนานุสรณ์; Ruechagorn Trairatananusorn; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ช่องว่างของมาตรการและกฎหมายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของประเทศกัมพูชา ลาว เมียนมาร์ และเวียดนาม (CLMV) ในการศึกษานี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้ยุทธศาสตร์ระดับโลกเพื่อลดการดื่มสุร ...
    • ประเภทของบาดแผลและรูปแบบการใช้ยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยอุบัติเหตุของโรงพยาบาลมหาสารคาม 

      ชุติมาภรณ์ ไชยสงค์; Chutimaporn Chaiyasong; พิริยา ติยาภักดิ์; Piriya Tiyapak; อนันตเดช วงศรียา; Anantadet Wongsriya; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      ในปี 2559 กระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้ “การใช้ยาปฏิชีวนะในบาดแผลสดจากอุบัติเหตุ” เป็นตัวชี้วัดหนึ่งของ Service Plan สาขาการใช้ยาอย่างสมเหตุผล โดยมีเป้าหมายคือ อัตราการใช้ยาปฏิชีวนะไม่เกินร้อยละ 40 ซึ่งอ้างอิงตัวเลขมาจากงานวิ ...
      Tags:
      Top hit
    • ประโยชน์ของข้อมูลการสำรวจครัวเรือนเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพและระบบสุขภาพในประเทศไทย 

      อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Rueangsom; ชนิกานต์ เนตรภักดี; Chanikarn Netrpukdee; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol; ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; ณัฐพัชร์ มรรคา; Nuttapat Makka; จินตนา จันทร์โคตรแก้ว; Jintana Jankhotkaew; พเยาว์ ผ่อนสุข; Payao Phonsuk; นิศาชล เศรษฐไกรกุล; Nisachol Cetthakrikul; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศได้ใช้ประโยชน์จากข้อมูลสำรวจสถิติครัวเรือนที่จัดทำโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) อย่างต่อเนื่องในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา เพื่ออ้างอิงในกระบวนการกำหนดนโยบายสุขภาพจนบรรลุผลหลายประเด็น ...
    • ผลกระทบของโปรแกรมดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงโดยทีมหมอครอบครัวในอำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น 

      สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; นวลจันทร์ แสนกอง; Nuanchan Saenkong; กฤษณี สระมุณี; Kritsanee Saramunee; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; ร่มตะวัน กาลพัฒน์; Romtawan Kalapat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ในปี 2559 รัฐบาลมีนโยบายขับเคลื่อนระบบการดูแลระยะยาว (long-term care: LTC) สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในอำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น มีการจัดบริการ LTC โดยมีทีมหมอครอบครัวและศูนย์ดูแลระยะยาว ...
    • ผลการดำเนินงานตามนโยบายการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในหญิงคลอดปกติ โรงพยาบาลมหาสารคาม 

      ชุติมาภรณ์ ไชยสงค์; Chutimaporn Chaiyasong; พิริยา ติยาภักดิ์; Piriya Tiyapak; สุภาพร สุภาทวีวัฒน์; Supaporn Supathaweewat; ศราวุธ มิทะลา; Sarawut Mithala; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      ภูมิหลังและเหตุผล: กระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้ “การใช้ยาปฏิชีวนะในหญิงคลอดปกติครบกำหนดทางช่องคลอด” เป็นตัวชี้วัดหนึ่งของแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาการใช้ยาอย่างสมเหตุผล โดยมีเป้าหมายคือ อัตราการใช้ยาปฏิชีวน ...
    • ผลตอบแทนทางสังคมของการจัดบริการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง: กรณีศึกษาตำบลสะอาด อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น 

      สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; นวลจันทร์ แสนกอง; Nuanchan Sankong; กฤษณี สระมุณี; Kritsanee Saramunee; ร่มตะวัน กาลพัฒน์; Romtawan Kalapat; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; นพวรรณ ยุติพันธ์; Noppawan Yutipan; ปิยรักษ์ รัตนปกรณ์; Piyarak Rattanapakorn; มนเศรษฐ ภูวรกิจ; Manasate Phuworakij (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      ภูมิหลังและเหตุผล: ประเทศไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 แล้ว และในปี พ.ศ. 2559 รัฐบาลได้มีนโยบายขับเคลื่อนระบบการดูแลระยะยาว (long-term care: LTC) ซึ่งตำบลสะอาด อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น เป็นตำบลหนึ ...
    • ผลลัพธ์ของการดูแลผู้ป่วยโรคหืดที่ควบคุมอาการไม่ได้ด้วยยา Salmeterol/Fluticasone และ Budesonide ในโรงพยาบาลชุมชน 

      นิพนธ์ ฐิติญาณวิโรจน์; Nipon Thitiyanwiroj; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; Thananan Rattanachotphanit; วัชรา บุญสวัสดิ์; Watchara Boonsawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ของการใช้ยา salmeterol/fluticasone (SFC) และ budesonide ในการควบคุมโรคหืดในสถานการณ์จริงในโรงพยาบาลชุมชน ทำการศึกษาแบบ retrospective cohort study โดยเก็บข้อมูลจากฐานข้อมูล Easy ...
    • ผลลัพธ์ของการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคจิตเภทโดยทีมสหสาขาวิชาชีพเครือข่ายบริการสุขภาพ อ.ดอนมดแดง จ.อุบลราชธานี 

      อาริยา ตั้งมโนกุล; Ariya Tangmanokun; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12)
      ภูมิหลังและเหตุผล: ปัญหาสำคัญในการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทคือผู้ป่วยไม่มารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ทำให้ขาดยาจนเกิดอาการจิตเภทกำเริบซ้ำ ทีมสหสาขาวิชาชีพในอำเภอดอนมดแดง จังหวัดอุบลราชธานี จึงพัฒนาการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทแบบเชิ ...
    • ผู้ป่วยด้วย NCD มีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพอยู่มากน้อยแค่ไหน: รายงานจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      อมรรัตน์ มานะวัฒนวงศ์; Amonrat Manawatthanawong; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      กลุ่มโรคไม่ติดต่อ (Non-communicable diseases: NCDs) เป็นปัญหาสาธารณสุขสำคัญและเป็นโรคที่สามารถป้องกันได้โดยการลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพโดยเฉพาะการสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ การรับประทานอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพ และการมีกิจกรร ...