Browsing by Author "Vilawan Luankongsomchit"
Now showing items 1-5 of 5
-
การจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อสนับสนุนการพัฒนาแนวปฏิบัติและแนวทางการติดตามประเมินผลของระบบการแพทย์ทางไกล ผ่านการถอดบทเรียนในบริบทไทยและบริบทโลก
วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ปภาดา ราญรอน; Papada Ranron; เบญจมพร เอี่ยมสกุล; Benjamaporn Eiamsakul; ปิยดา แก้วเขียว; Piyada Gaewkhiew; โชติกา สุวรรณพานิช; Chotika Suwanpanich; เฌอริลิณญ์ ประทุมสุวรรณ์; Sherilyn Pratumsuwan; ธนกิตติ์ อธิบดี; Thanakit Athibodee; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesophon; จิราธร สุตะวงศ์; Jiratorn Sutawong; ธนัยนันท์ ชวนไชยะกูล; Tanainan Chuanchaiyakul; Dabak, Saudamini Vishwanath; Prakash, Annapoorna; Chavarina, Kinanti Khansa; Myint, Aye Nandar; Liu, Sichen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)ภูมิหลัง : การแพทย์ทางไกลหรือโทรเวช (Telemedicine) ถือเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณสุขบนโลกดิจิทัล (Digital Health) โดยเป็นความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่ช่วยส่งเสริมให้การให้บริการทางการแพทย์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ... -
การประเมินการดำเนินงานระยะครึ่งแผนตามแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564
วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)ในปี พ.ศ. 2559 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบต่อ “แผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564” ซึ่งถือเป็นแผนยุทธศาสตร์ฉบับแรกของประเทศไทยที่มีขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาการดื้อยาต้านจุลชีพเป็นการเฉพาะ และต่อมาในปี ... -
การประเมินต้นทุนอรรถประโยชน์ของการรักษาผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองอุดตันระยะเฉียบพลันผ่านสายสวนหลอดเลือดด้วยวิธี endovascular treatment ในประชากรไทย
วรัญญา รัตนวิภาพงษ์; Waranya Rattanavipapong; บุสดี โสบุญ; Budsadee Soboon; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; ยงชัย นิละนนท์; Yongchai Nilanont; ธนบูรณ์ วรกิจธำรงค์ชัย; Thanaboon Worakijthamrongchai; มนันชยา กองเมืองปัก; Mananchaya Kongmuangpuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (Health Intervention and Technology Assessment Program, HITAP) ได้รับมอบหมายจากคณะอนุกรรมการพัฒนาสิทธิประโยชน์และระบบบริการ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ให้ดำเนินการศึกษาวิจัยในหัวข้อ ... -
การพัฒนากรอบยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขเพื่อตอบสนองต่อการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประเทศไทย
วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; กานต์พีชญา เนตรพิสิทธิ์กุล; Kanpechaya Netpisitkul; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; มธุดารา ไพยารมณ์; Mathudara Phaiyarom; ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; สุณิชา ชานวาทิก; Sunicha Chanvatik; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; เบญจรินทร์ สันตติวงศ์ไชย; Benjarin Santatiwongchai; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; อรทัย วลีวงศ์; Orratai Waleewong; ณัฐดนัย รัชตะนาวิน; Nattadhanai Rajatanavin; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; รักษพล สนิทยา; Rugsapon Sanitya; อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; ณัฎฐณิชา แปงการิยา; Nattanicha Pangkariya; รัชพร คงประเสริฐ; Ratchaporn Kongprasert; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Rueangsom; กมลวรรณ เขียวนิล; Kamonwan Kiewnin; หทัยชนก สุมาลี; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019, COVID-19 หรือ โควิด-19) นับเป็น "การระบาดใหญ่" (pandemic) หลังจากพบผู้ติดเชื้อทั่วโลก ปัจจุบัน (กันยายน 2563) มีผู้ติดเชื้อทั่วโลกมากกว่า 30 ล้านราย ... -
การศึกษาการขยายบริการตรวจคัดกรองการได้ยินในทารกแรกเกิดในประเทศไทย: ความเป็นไปได้ ต้นทุน และความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์
ดนัย ชินคำ; Danai Chinnacom; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; ชนิดา เอกอัครรุ่งโรจน์; Chanida Ekakkararungroj; ณชวิศ กิตติบวรดิฐ; Nachawish Kittibovorndit; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; พิทยาพล ปีตธวัชชัย; Pittayapon Pitathawatchai; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)การได้ยินเป็นพื้นฐานสำคัญของการพูดและพัฒนาการทางภาษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงอายุ 3 ปีแรกของชีวิต หากเด็กมีความผิดปกติทางการได้ยินจะส่งผลกระทบโดยตรงกับพัฒนาการด้านการพูดและภาษารวมถึงการเข้าสังคม การเรียน ภาวะจิตใจ ความจำ ...