• การวิเคราะห์ผลกระทบของ COVID-19 ต่อระบบสาธารณสุขเพื่อเพิ่มความเข้มแข็งในการปรับตัวของระบบบริการต่อการระบาดและความยั่งยืนของระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; จารวี สุขมณี; Jarawee Sukmanee; ภิชารีย์ กรุณายาวงศ์; Picharee Karunayawong; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesopon; จุฬาทิพย์ บุญมา; Chulathip Boonma; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; วุฒิพันธ์ุ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol; ชุติมน สินธุประมา; Chutimon Sindhuprama; ขนิษฐา กู้ศรีสกุล; Khanitta Kusreesakul; ณัฐพัชร์ มรรคา; Nuttapat Makka; ปริญดา เสนีย์รัตนประยูร; Parinda Seneerattanaprayul; วราภรณ์ ปวงกันทา; Waraporn Poungkantha; เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich; จักร์วิดา อมรวิสัยสรเดช; Chakvida Amornvisaisoradej; จุฑาทิพย์ ทั่งทอง; Jutatip Thungthong; พูนชนะ วารีชัย; Poonchana Wareechai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-31)
      การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โควิด-19 (COVID-19) ได้ลุกลามไปทั่วโลก และส่งผลกระทบต่อทุกคนในทุกหนแห่ง อย่างไรก็ตามแม้ว่าโควิด-19 จะส่งผลกระทบด้านลบหลายประการแต่ก็ทำให้นักวิจัยได้หาโจทย์และแนวทางในการสร้ ...
    • การสังเคราะห์มาตรการและนโยบายของรัฐบาลเพื่อลดการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 จากผลการประเมินการปฏิบัติตนของประชาชนไทยต่อมาตรการต่างๆ 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangchroensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumon; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol; วันวิสาห์ แก้วขันแข็ง; Wanwisa Kaewkhankhaeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-08)
      การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 ส่งผลให้รัฐบาลไทยประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม - 30 เมษายน พ.ศ. 2563 และรณรงค์มาตรการ “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” ...
    • ความเป็นธรรมในการได้รับบริการสุขภาพช่องปากของประชากรไทย: การวิเคราะห์ผลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2560 

      ธีรวัฒน์ ทัศนภิรมย์; Teerawat Tussanapirom; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      ประเทศไทยประสบความสำเร็จในการจัดให้มีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแก่ประชาชนตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ส่งผลให้ประชากรเกือบทั้งหมดมีสิทธิในสวัสดิการการรักษาทางทันตกรรมที่จัดให้โดยรัฐ แต่จากผลการสำรวจระดับประเทศที่ผ่านมานั้น ...
    • ประโยชน์ของข้อมูลการสำรวจครัวเรือนเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพและระบบสุขภาพในประเทศไทย 

      อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Rueangsom; ชนิกานต์ เนตรภักดี; Chanikarn Netrpukdee; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol; ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; ณัฐพัชร์ มรรคา; Nuttapat Makka; จินตนา จันทร์โคตรแก้ว; Jintana Jankhotkaew; พเยาว์ ผ่อนสุข; Payao Phonsuk; นิศาชล เศรษฐไกรกุล; Nisachol Cetthakrikul; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศได้ใช้ประโยชน์จากข้อมูลสำรวจสถิติครัวเรือนที่จัดทำโดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) อย่างต่อเนื่องในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา เพื่ออ้างอิงในกระบวนการกำหนดนโยบายสุขภาพจนบรรลุผลหลายประเด็น ...
    • ปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงอุปกรณ์ช่วยเหลือผู้สูงอายุ: การวิเคราะห์ผลการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2545 ถึง 2560 

      ศลิษา ฤทธิมโนมัย; Salisa Rittimanomai; วรณัน วิทยาพิภพสกุล; Woranan Witthayapipopsakul; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol; ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      ผู้สูงอายุเป็นวัยที่พบการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพรวมถึงการถดถอยของความสามารถด้านต่างๆ ในการดำรงชีวิตเป็นอย่างมาก ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อการใช้ชีวิตอย่างเป็นส่วนหนึ่งของสังคม หนึ่งในวิธีการบรรเทาปัญหาดังกล่าวคือการใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือ ...
    • สถานการณ์การใช้ยาต้านจุลชีพและความรู้เรื่องยาต้านจุลชีพ: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2560 

      สุณิชา ชานวาทิก; Sunicha Chanvatik; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; อภิชาติ ธัญญาหาร; Apichart Thunyahan; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      ในปัจจุบัน ปัญหาการดื้อยาของเชื้อจุลชีพมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง สาเหตุสำคัญมาจากการใช้ยาต้านจุลชีพที่ไม่เหมาะสม ทั้งการใช้โดยไม่จำเป็นและมากเกินความจำเป็น รวมทั้งใช้ยาต้านจุลชีพอย่างไม่ถูกต้อง ดังนั้น เพื่อเป็นการส ...