Browsing by Subject "การตรวจคัดกรอง"
Now showing items 1-20 of 25
-
The potential of provider-initiated voluntary HIV counseling and testing at health care settings in Thailand
(Health Intervention and Technology Assessment Program, 2009-03)WHO and UNAIDS advocated healthcare providers to consider provider-initiated HIV counseling and testing for clients attending healthcare facilities. However, there is a lack of evidence, concerning the effectiveness of ... -
การทบทวนข้อมูลทางคลินิกของผู้เสียชีวิตจากวัณโรคในฐานข้อมูลการสอบสวนสาเหตุการตายจากการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้องในปี พ.ศ. 2562
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-05)การทบทวนสาเหตุการตายของประชากรไทยโดยวิธีการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง (verbal autopsy) จำนวน 9,300 ราย คณะผู้ทบทวนรายงานว่า วัณโรคเป็นสาเหตุการตาย ร้อยละ 2.8 ในผู้ชาย และร้อยละ 1.3 ในผู้หญิง อันเป็นสาเหตุการตายลำดับที่ 10 และ ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจคัดกรองโรคไตเรื้อรังในผู้สูงอายุ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07)ภูมิหลังและเหตุผล: ไตเรื้อรัง (Chronic kidney disease, CKD) มีความชุกสูงในประเทศไทยและมีภาระค่าใช้จ่ายในการรักษามาก มีคำแนะนำว่าการคัดกรองความเสี่ยงของภาวะ CKD จะมีประโยชน์ อายุที่มากขึ้นถือเป็นปัจจัยเสี่ยงอย่างหนึ่งของการเกิด ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจคัดกรองทารกที่มีโครโมโซมผิดปกติในครรภ์ก่อนคลอดในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)ประเทศไทยมีรายงานอุบัติการณ์ของโรคโครโมโซมผิดปกติ เช่น กลุ่มอาการดาวน์ในทารกแรกเกิดอยู่ระหว่าง 1 : 800 ถึง 1 : 1,000 โดยพบความเสี่ยงเพิ่มขึ้นตามอายุของมารดา อย่างไรก็ตามร้อยละ 75-80 ของทารกแรกเกิดที่มีอาการดาวน์นั้นพบว่า ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจวินิจฉัยภาวะพาหะธาลัสซีเมียในคู่สามีภรรยาในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)ความชุกของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียพบได้ประมาณร้อยละ 1 ของประชากรทั้งหมด โดยมีผู้ที่เป็นพาหะของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียประมาณร้อยละ 30-40 จึงสามารถประมาณการได้ว่าจะพบผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงรายใหม่ 5,125 คน ... -
การประเมินเชิงเปรียบเทียบชุดตรวจวินิจฉัยวัณโรคระยะแฝงจากตัวอย่างเลือด: QuantiFERON-TB Gold Plus และ QIAreach QuantiFERON-TB
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)การตรวจวินิจฉัยวัณโรคระยะแฝงและการจัดการที่เหมาะสม เป็นองค์ประกอบสำคัญในการลดจำนวนผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตจากวัณโรค การตรวจวินิจฉัยวัณโรคระยะแฝง ด้วยการตรวจสารอินเตอร์เฟอรอนแกมมาจากตัวอย่างเลือด มีข้อดีกว่าการทดสอบทางผิวหน ... -
การพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ช่วยในการคัดกรองรอยโรคจากภาพถ่ายรังสีทรวงอกเพื่อคัดกรองวัณโรคปอด มะเร็งปอดและรอยโรคอื่นๆ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)ภาพถ่ายดิจิทัลรังสีทรวงอก หรือ Digital chest x-ray image เป็นเครื่องมือวินิจฉัยทางการแพทย์ที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน ช่วยในการวินิจฉัยโรค ได้แก่ วัณโรคปอดและมะเร็งปอด ในการตรวจสุขภาพประจำปีอีกด้วย ในแต่ละปีมีภาพถ่า ... -
การพัฒนาระบบการคัดกรองโรคไตเรื้อรังระยะเริ่มต้นในระดับปฐมภูมิด้วยชุดตรวจ albuminuria
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)โรคไตเรื้อรังถือว่าเป็นหนึ่งในปัญหาทางสุขภาพที่สำคัญทั้งในระดับชาติและระดับโลก เนื่องจากมีแนวโน้มที่ผู้ป่วยจะมีปริมาณเพิ่มขึ้นในแต่ละปี ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในระยะแรกจะยังไม่แสดงอาการของโรค แต่สามารถที่จะวินิจฉัยได้จากการ ... -
การพัฒนาระบบสาธารณสุขเพื่อการตรวจคัดกรอง ตรวจวินิจฉัยและบริหารจัดการผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)มะเร็งท่อน้ำดี (cholangiocarcinoma) คือ มะเร็งที่เกิดจากความผิดปกติของเซลล์เยื่อบุน้ำดีทั้งในและ นอกตับพบคนไทยเสียชีวิตจากโรคมะเร็งท่อน้ำดีและตับจำนวนประมาณ 10,000 – 20,000 รายต่อปี โดยกว่าครึ่งหนึ่งเป็นคนภาคตะวันออกเฉี ... -
การพัฒนาแบบจำลองทำนายความเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประเทศไทยเพื่อประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจต่อระบบหลักประกันสุขภาพและระบบสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-10)โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สร้างแบบจำลองทำนายความเสี่ยง 2 แบบจำลองหลัก คือ 1.1 แบบจำลองทำนายความเสี่ยงการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชากรทั่วไป และ 1.2 แบบจำลองทำนายความเสี่ยงการเกิดภาวะแทรกซ้อนและการเสีย ... -
การระบุสารระเหยง่ายบ่งชี้และพัฒนาเครื่องตรวจวัดภาวะทางจิตจากเหงื่อแบบพกพา สำหรับคัดกรองปัญหาสุขภาพจิตและโรคทางจิตเวช : การศึกษาพหุสถาบัน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)โครงการนี้ได้พัฒนาวิธีทางเลือกสำหรับตรวจคัดกรองโรคหรือภาวะที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพทางจิต โดยเริ่มจากการทำฐานข้อมูลสารระเหยง่ายและระบุสารระเหยง่ายบ่งชี้ในเหงื่อด้วยเทคนิค Gas Chromatography-Ion Mobility Spectrometry (GC-IMS) ... -
การวิเคราะห์ต้นทุนอรรถประโยชน์และความเป็นไปได้ของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA โดยชุดเก็บตัวอย่างด้วยตัวเองในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)ที่มา : มะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่มีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับ 3 ในสตรีไทย แม้ว่าปัจจุบันสตรีไทยจะมีสิทธิในเข้าถึงบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก แต่อุบัติการณ์และอัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกในประเทศไทยก็ยังคงสูง ... -
การศึกษาการใช้ Asia-Pacific Colorectal Cancer Risk Score และการตรวจหาเลือดแฝงในอุจจาระ (Fecal Immunochemical Test) ในการช่วยตรวจคัดกรองเนื้องอก ลำไส้ใหญ่ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)มะเร็งลำไส้ใหญ่จัดเป็นมะเร็งที่พบบ่อยและเป็นสาเหตุการเสียชีวิตติดอันดับต้นๆ ของทั่วโลกและประเทศไทย การตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้จะช่วยลดอุบัติการณ์และลดอัตราการเสียชีวิตมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้ อย่างไรก็ตาม การตรวจคัดกรองคำนึงถึง ... -
การเฝ้าระวังการติดเชื้อไวรัสซาร์โควี-2 ในโรงงาน ด้วยการตรวจแอนติเจนจากน้ำลาย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)การระบาดของ Coronavirus 2019 หรือ COVID-19 ส่งผลให้โรงงานอุตสาหกรรมหลายแห่งต้องหยุดการทำงาน ส่งผลเสียต่อภาคอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจของประเทศไทย หลังจากที่สถานการณ์ได้คลี่คลายลง เริ่มมีการแนะนำมาตรการที่จะนำมาใช้ในการเปิดการ ... -
การเพิ่มสิทธิประโยชน์การรักษาผู้ป่วยโรค HAE (Hereditary Angioedema) ที่เกิดจากความผิดปกติของเอนไซม์ C1 esterase inhibitor: C1-INH
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)โรค Hereditary angioedema (HAE) เป็นโรคทางพันธุกรรมหายากที่คุกคามชีวิตผู้ป่วย โรคนี้สามารถนำไปสู่การเกิดอาการกำเริบเฉียบพลัน โดยมีอาการบวมอย่างรุนแรงที่เกิดขึ้นในบริเวณต่างๆ เช่น ใบหน้า ทางเดินอาหารและกล่องเสียง ... -
การใช้ระบบบูรณาการปัญญาประดิษฐ์และการติดตามการส่งต่อผู้ป่วยในการตรวจคัดกรองภาวะเบาหวานเข้าจอตาแบบแสดงผลการคัดกรองทันที
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)ภาวะเบาหวานเข้าจอตาเป็นภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือดขนาดเล็กที่พบได้มากในผู้ป่วยเบาหวาน อีกทั้งยังเป็นสาเหตุสำคัญของภาวะตาบอดในประชากรโลก ดังนั้นการคัดกรองเบาหวานเข้าจอตาจึงเป็นสิ่งสำคัญในระบบสาธารณสุขทั่วโลก อย่างไรก็ตามประเ ... -
ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ ผลกระทบด้านงบประมาณ และความเป็นไปได้ของมาตรการการคัดกรองเบาหวานในประชากรไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-05)บทนำ: การใช้ระบบประเมินความเสี่ยงและการคัดกรอง ในผู้ที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคเบาหวาน หรือผู้ที่มีภาวะก่อนเบาหวาน มีเครื่องมือหลายอย่าง และแต่ละอย่างมีข้อดี/ข้อจำกัดในการวินิจฉัยโรคเบาหวานและการทำนายการเป็นเบาหวานในอนาคต ... -
ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม-ทบทวนวรรณกรรม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)ปัจจุบันมะเร็งเต้านมยังคงเป็นสาเหตุการตายในอันดับต้นๆ ของหลายประเทศ อย่างไรก็ตาม หากตรวจพบมะเร็งตั้งแต่ระยะเริ่มแรก พบว่ามีโอกาสหายและสามารถลดอัตราการตายจากโรคได้ ดังนั้น การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมจึงเป็นเรื่องสำคัญ ... -
ความเป็นไปได้ของการตรวจคัดกรองโรคพันธุกรรมเมตาบอลิกในทารกแรกเกิดโดยใช้เทคโนโลยีแทนเดมแมสสเปกโทรเมทรี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของการตรวจคัดกรองโรคพันธุกรรมเมตาบอลิกชนิดสารโมเลกุลเล็กในทารกแรกเกิดทุกคนโดยใช้เทคโนโลยีแทนเดมแมสสเปกโทรเมทรี (tandem mass spectrometry หรือ MS/MS) ในชุดสิทธิประโยชน์ภายใ ... -
ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยเครื่องแมมโมแกรม 1 ครั้งในชีวิตของผู้หญิงไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-09)มะเร็งเต้านมเป็นมะเร็งที่พบได้บ่อยที่สุดในผู้หญิงไทย อุบัติการณ์ คือ 25.6 คนต่อผู้หญิงไทย 100,000 คนปัจจุบันมีเพียงการตรวจคัดกรองด้วยเครื่องแมมโมแกรมที่มีหลักฐานยืนยันว่าลดอัตราการตายจากมะเร็งเต้านม แต่ด้วยข้อจำกัดด้านงบประมาณ ...