Now showing items 1-5 of 5

    • การประเมินสภาพการบาดเจ็บภายใน 24 ชั่วโมง หลัง admission เพื่อลด Missed injuries 

      ศศิธร ชำนาญผล (โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์, 2554-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่อง ขยายคุณค่างานประจำ: R2R พัฒนาระบบบริการ วันที่ 21 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.30-16.30 น. ณ Jupiter6-7 อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี
    • การเฝ้าระวังการบาดเจ็บ จังหวัดตรัง ปี 2538 

      พิกุล ดิษฐแก้ว; Pikul Distakaew; วิภา ลุ้งบ้าน; พัชนี ธรรมพานิชย์; อนันต์ ชูหอยทอง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2538)
      การเฝ้าระวังการบาดเจ็บ จังหวัดตรัง ปี 2438การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบขนาดและความรุนแรงของปัญหา ลักษณะทางระบาด-วิทยาของผู้บาดเจ็บ สาเหตุปัจจัยเสี่ยงและการใช้เครื่องป้องกัน ตลอดจนคุณภาพของการได้รับบริการรักษาพยาบาล ...
    • พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ใครได้-ใครเสีย : กรณีศึกษาจังหวัดขอนแก่น 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      ในประเทศไทยการบาดเจ็บจากอุบัติภัยเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญอันดับสอง รองจากโรคหัวใจและหลอดเลือด อัตราตายจากอุบัติภัยต่างๆ ดารบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรทางบกมีสัดส่วนที่สูง ภาพที่2 แสดงจำนวนอุบัติเหตุ การบาดเจ็บ ...
    • ภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย พ.ศ.2547 

      สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-02)
      ผลการศึกษาของโครงการศึกษาพัฒนาการดำเนินการจัดทำเครื่องชี้วัดภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทยพบว่าภาระทางสุขภาพจากโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทยปี พ.ศ. 2547 สรุปได้ดังต่อไปนี้ การคาดประมาณอายุขัยเฉลี่ยประชากรไทยปี พ.ศ. ...
    • วิทยาการระบาดการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรทางถนนในประเทศไทย 

      แสงโฉม ศิริพานิช; กาญจนีย์ ดำนาคแก้ว; อวยพร คำวงค์ศา; Sangchom Siripanich; Kanjanee Dumnakeaw; Auyporn Kumwongsa (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การบาดเจ็บและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรทางถนน เป็นปัญหาสำคัญที่ทำให้เกิดความสูญเสียต่อชีวิต ทรัพย์สิน และเศรษฐกิจของประเทศอย่างมากมาย การศึกษาเชิงพรรณนาโดยวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิจากระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บแห่งชาติ ...