Now showing items 1-12 of 12

    • การประกันสุขภาพภาคเอกชน : ประสบการณ์ของต่างประเทศ 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; วิชช์ เกษมทรัพย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      Private Health Insurance : International ExperiencesThe study objectives were to review roles of private health insurance in other countries, to analyse health care systems in which the development of private health insurance ...
    • การพัฒนานโยบายและรูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพและความปลอดภัยสำหรับสถานประกอบการ ในระบบการจ้างงานและการประกันสุขภาพ 

      ฉัฐญาณ์ วงศ์รัฐนันท์; Chathaya Wongrathanandha; สุมนมาลย์ สิงหะ; Sumonmarn Singha; ลอยลม ประเสริฐศรี; Loylom Prasertsri; เดโช สุรางค์ศรีรัฐ; Decho Surangsrirat; นนทชัย เหมะรัตน์พิทักษ์; Nontachai Hemaratpitak; จิดาภา หาญวรวงศ์ชัย; Jidapa Hanvoravongchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      โรคไม่ติดต่อเรื้อรังจัดเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประชากรวัยทำงาน การสร้างเสริมสุขภาพในสถานประกอบการนับเป็นช่องทางสำคัญที่จะสามารถเข้าถึงคนกลุ่มนี้ได้ จึงจำเป็นต้องหาวิธีส่งเสริมให้มากขึ้น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ คือ ...
    • การพัฒนาศักยภาพการทำงานกองทุนสปสช.ขององค์กรภาคีองค์การบริหารส่วนตำบลหรือเทศบาล ชุมชน และเครือข่ายบริการสุขภาพ 

      ชะนวนทอง ธนสุกาญจน์ (แผนงานร่วมสร้างเสริมสุขภาพกับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า, 2552-12)
      กองทุนสุขภาพหลักประกันสุขภาพแห่งสุขภาพสปสช. ระดับตำบล/ท้องถิ่นเป็นเครื่องมือสำคัญในการทำงานเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้คนไทยทุกคน และเป็นเครื่องมือสำคัญในการสร้างความเข้มแข็งให้คนในชุมชนเพื่อการมีสุขภาพดี ดังนั้นโครงการ ...
    • การศึกษาลักษณะของโรงพยาบาลในประเทศไทยที่มีผลดำเนินการขาดทุนหรือกำไรหลักจากปีแรกของการมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      สุรฉัตร ง้อสุรเชษฐ์; Surachat Ngosurachat; อรรถพล ศรเลิศล้ำวาณิช; Antapol Sornloetlumwanit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะศึกษาลักษณะของโรงพยาบาลในประเทศไทยที่มีผลดำเนินการขาดทุนเปรียบเทียบกับโรงพยาบาลที่มีผลดำเนินการกำไร โดยวิเคราะห์จากข้อมูลของโรงพยาบาลทั่วประเทศที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขจำนวน 640 โรงพยาบาล ...
    • การสังเคราะห์วิสัยทัศน์ของประชาคมเภสัชกรสำหรับการปฏิรูประบบสาธารณสุขภาพ 

      คทา บัณฑิตานุกูล; Katha Bunditanukul; เพชรรัตน์ พงษ์เจริญสุข; พัชราภรณ์ ปัญญาวุฒิไกร; รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; สุนทรี วัชรดำรงกุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การสังเคราะห์วิสัยทัศน์ของประชาคมเภสัชกรสำหรับการปฏิรูประบบสุขภาพวัตถุประสงค์เพื่อระดมความคิดของประชาคมเภสัชกรเครือข่ายหลักและสังเคราะห์เป็นวิสัยทัศน์ของระบบสุขภาพแห่งชาติที่ต้องการเพื่อสังเคราะห์ให้เห็นบทบาทของเภสัชกรในมิติใหม่ ...
    • ชีวิต สุขภาพ และ การเข้าถึงระบบสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในเมือง: การศึกษากลุ่มผู้สูงอายุที่เป็นแรงงานย้ายถิ่นในกรุงเทพมหานคร 

      ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sri-ngernyuang; วาศินี กลิ่นสมเชื้อ; Vasinee Klinsomchua (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)
      โครงการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนสถานการณ์ปัญหาด้านสุขภาพและการเข้าถึงระบบสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในเมืองในประเทศไทย และเพื่อศึกษาพัฒนาโจทย์วิจัยทางด้านสุขภาพ และการเข้าถึงระบบสุขภาพของประชากรกลุ่มเปราะบางในเ ...
    • ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ถนอม สุภาพร; จิตปราณี วาศวิท (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร และแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ...
    • พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถในบริบทของการประกันสุขภาพถ้วนหน้า : ข้อเสนอเพื่อการปฏิรูป 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; จงกล เลิศเธียรดำรง; วลัยพร พัชรนฤมล; Jongkol Lertiendumrong; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2535 แม้ว่าจะเป็นการประกันภาคบังคับ บริษัทประกันวินาศภัย ที่มุ่งกำไร เป็นผู้บริหารโครงการนี้ทั้งหมด แทนที่จะเป็นภาครัฐ พ.ร.บ.นี้ ให้การคุ้มครองโดยจ่ายสินไหมทดแทนกรณีรักษาพยาบาล ...
    • ระบบบริการสาธารณสุขกับการประกันสุขภาพ : ปัญหาและข้อเสนอในภาพรวม 

      สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; Somsak Chunharas; พงษ์พัฒน์ ปธานวนิช; เมธ โชคชัยชาญ; เสรี หงษ์หยก; นิพิฐ พิรเวช; สุพัตรา ศรีวณิชชากร; สุทธิชัย จิตะพันธ์กุล; ชาญวิทย์ ทระเทพ; เกรียงศักดิ์ วัชรนุกูลเกียรติ; ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์; Pongphan Phatanwanit; Met Chokchaichan; Seree Hongyok; Niphit Phirawet; Suphatra Sriwanichakorn; Sutichai Chitaphankul; Chanvit Tharathep; Kriengsak Vacharanukulkieti; Chainan Tayawiwat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      การศึกษาสถานการณ์ สภาพปัญหาของระบบบริการสุขภาพปัจจุบัน ที่ได้รับผลกระทบจากระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เพื่อจัดทำข้อเสนอการปรับปรุงในภาพรวม แบ่งเป็นสามส่วน คือ อาการแสดงออกที่พบบ่อยในระบบบริการสุขภาพ การวิเคราะห์สาเหตุหร ...
    • ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย - คำถามวิจัยที่สำคัญ 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)
      โครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าดำเนินการเต็มพื้นที่ในปีงบประมาณ ๒๕๔๕ เนื่องจากเป็นโครงการระดับชาติ การกำหนดและปรับเปลี่ยนนโยบายเพื่อให้โครงการฯบรรลุวัตถุประสงค์มีความจำเป็นจะต้องอาศัยข้อมูลทางวิชาการและงานวิจัยที่สำคัญ ๖ ด้าน ...
    • หนึ่งปีแรกของการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; ศรชัย เตรียมวรกุล; Anchana Na Ranong; Sonchai Tiamworakul (สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2547)
      รายงานวิจัยฉบับนี้เป็นการติดตามประเมินผลการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของประเทศในภาพรวม โดยเริ่มดำเนินการตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2544 - มิถุนายน 2545 รายงานฉบับนี้แบ่งออกเป็น 9 ตอน ตอนที่ 1 คือ บทนำ ตอนที่ 2 กล่าวถึงแนวคิดคว ...
    • หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าปี 2545-2546 : รายงานวิจัยเล่มที่1 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Viroj Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; ศรชัย เตรียมวรกุล; ศศิวุทฒิ์ วงศ์มณฑา; Anchana Na Ranong; Sonchai Tiarmworakul; Sasiwut Vongmontha (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามประเมินผลการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในระหว่างปี 2544-2547 ซึ่งเป็นการสรุปการดำเนินงานของโครงการที่เกี่ยวข้องกับหลักประกันสุขภาพของภาครัฐที่สำคัญ 4 โครงการคือ โครงการสวัสดิการข้ ...