Now showing items 1-6 of 6

    • การมีส่วนร่วมของประชาชนจังหวัดขอนแก่นเพื่อเสนอข้อคิดเห็นด้านสุขภาพ ด้านการแพทย์ และการสาธารณสุขในการร่างรัฐธรรมนูญ มกราคม 2540-กุมภาพันธ์ 2541 

      วีระพันธ์ สุพรรณไชยมาตย์; Weerapan Supanchaimat; ศิริกุล กุลเลียบ; วัชรา ภูมิระบุ; สุนันทา ศรีวิวัฒน์; ศิริวรรณ หมื่นหัส (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      การมีส่วนร่วมของประชาชนจังหวัดขอนแก่นเพื่อเสนอข้อคิดเห็นด้านสุขภาพด้านการแพทย์ และการสาธารณสุขในการร่างรัฐธรรมนูญ มกราคม 2540-กุมภาพันธ์ 2541 โครงการการมีส่วนร่วมของประชาชนในการร่างรัฐธรรมนูญเป็นงานวิจัยเชิงปฏิบัติการ ...
    • การมีส่วนร่วมของประชาชนในการอภิบาลระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      กมลวรรณ เขียวนิล; Kamonwan Kiewnin; สมธนึก โชติช่วงฉัตรชัย; Somtanuek Chotchoungchatchai; คนางค์ คันธมธุรพจน์; Kanang Kantamaturapoj; อณิกา อิสลาม มาแชล; Aniqa Islam Marshall; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09-30)
      การมีส่วนร่วมของประชาชนในการตัดสินใจระดับนโยบายเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของหลักธรรมาภิบาล พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ได้เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการอภิบาลระบบ ตามมาตรา 13(4) และ มาตรา 48(8) ...
    • การศึกษาทบทวนสถานการณ์ธรรมาภิบาลระบบสุขภาพ 

      มานวิภา อินทรทัต; อาจยุทธ เนติธนากูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ด้วยเป้าหมายหลักของการพัฒนาระบบสุขภาพไทย คือ การมีธรรมภิบาลในการจัดระบบสุขภาพให้สมดุลและยั่งยืน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงและมีสุขภาวะที่ดี ดังนั้นจึงต้องทราบถึงสถานการณ์ปัจจุบันของธรรมภิบาลระบบสุขภาพ จุดประสงค์ของงา ...
    • การสนับสนุนธรรมภิบาลของ อบต.และการมีส่วนร่วมของประชาชน : การเรียนรู้ร่วมกับท้องถิ่น ระยะที่ 2 

      ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; Direk Patamasiriwat; ณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ; วรรณา พงษ์ถิ่นทองงาม; วิทยา คามุณี; ครรชิต สุขนาค; ธนวัฒน์ ขวัญบุญ; Natachet Phulcharoen; Wanna Phongthinngam; Witaya Damunee; Khanchit Suknak; Thanawat Khanbun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      องค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) เป็นองค์กรน้องใหม่ อยู่ในระยะของการเปลี่ยนผ่าน (transitional state) ซึ่งสอดคล้องกับหลักการกระจายอำนาจจากส่วนกลางให้กับท้องถิ่น ในแง่หนึ่งได้มีมาตรการเพิ่มพลังให้ท้องถิ่น (empowerment) ...
    • ทบทวนวรรณกรรมธรรมาธิบาลในระบบสุขภาพ 

      มานวิภา อินทรทัต; Manvipa Indradat; อาจยุทธ เนติธนากูล; Ardyuth Natithanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ด้วยเป้าหมายหลักของการพัฒนาระบบสุขภาพไทย คือ การมีธรรมาภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพให้สมดุล และยั่งยืน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงและมีสุขภาวะที่ดี การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาสถานการณ์ปัจจุบันของธรรมาภิบาลระบบสุขภาพ ...
    • ผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำลำตะคองแบบสูบกลับ 

      สุภาวดี บุญเจือ; Supavadee Boonjua (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2549)
      การประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำลําตะคองแบบสูบกลับ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำลําตะคองแบบสูบกลับ และศึกษากระบวนการของปัญหาและอุปสรรคจากการมีส่วนร่วมในการศึกษารายงา ...