Now showing items 1-16 of 16

    • การจัดระบบบริการด้านรังสีรักษากับความต้องการและการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคมะเร็งในประเทศไทยปีงบประมาณ 2545 

      ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ศุภวาณี สำเภานนท์; Somsak Chunharas; Viroj Tangcharoensathien; Supawanee Sumpaonon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      ด้วยเหตุผลที่โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่มีความสำคัญเป็นลำดับต้นของประเทศ และในขณะที่งานรังสีรักษามีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการบำบัดรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งทั้งในระยะเริ่มต้นและระยะสุดท้าย แต่สภาพปัญหาในปัจจุบันพบว่า ...
    • การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการทำ Managed Entry Agreement (MEA) 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; Cha–oncin Sooksriwong; ปิยพัทธ์ โอวาท; Piyapat Owat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      เมื่อยาที่มีราคาแพงหรือยาใหม่ที่มีข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพของยาที่ยังไม่สมบูรณ์ออกสู่ตลาด จะมีผลกระทบต่อผู้ซื้อบริการสุขภาพในฐานะที่เป็นผู้จ่ายเงินในระบบสุขภาพ การทำข้อตกลงในรูปแบบ managed entry agreement หรือ MEA ...
    • การปฏิรูประบบบริการสุขภาพในประเทศอิสราเอล 

      อาทร ริ้วไพบูลย์; Athorn Riewpaiboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      อิสราเอลเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วมีภาวะเศรษฐกิจที่ดี มีประชากรประมาณ 6 ล้านคนแต่มีพัฒนาการและสภาวะทางการเมืองรวมทั้งการพัฒนานโยบายด้านสาธารณสุขที่มีลักษณะเฉพาะ นับแต่การอพยพของชาวยิวเข้าไปอยู่ในดินแดนที่จะก่อตั้งเป็นประเทศในปัจจุบัน ...
    • การปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษาประเทศไต้หวัน 

      วิชิต เปานิล; Wichit Paonil (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การปฏิรูประบบสุขภาพ: กรณีศึกษาประเทศไต้หวันการศึกษานี้ทำขึ้นเพื่อนำเสนอพัฒนาการของระบบสุขภาพของไต้หวัน ทั้งในส่วนปัญหา และวิธีการแก้ไขโดยเฉพาะประเด็นการปฏิรูประบบสุขภาพ เพื่อใช้เป็นบทเรียนประกอบการพัฒนาระบบสุขภาพของไทย ...
    • การศึกษาสถานการณ์และพัฒนาระบบเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการรายบุคคลด้วยสาธารณสุขทางไกล (ระยะที่ 1) 

      ขวัญประชา เชียงไชยสกุลไทย; Kwanpracha Chiangchaisakulthai; อภิญชาพัชญ์ กองเกิด; Apinchapat Kongkerd; วาริสา ทรัพย์ประดิษฐ; Warisa Suppradist (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-15)
      การศึกษาสถานการณ์และพัฒนาระบบเพิ่มโอกาสการเข้าถึงบริการอุปกรณ์เครื่องช่วยความพิการรายบุคคลด้วยสาธารณสุขทางไกล (ระยะที่1) นี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยทำการสำรวจสถานการณ์การเข้าถึงอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการประเภทรถเข็นในประ ...
    • การศึกษาแผนงานสร้างเสริมสุขภาวะประชากรสาธารณสุขต่างด้าวในประเทศไทย (ระยะที่ 1) 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; บงกช นภาอัมพร; Bongkot Napaumporn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-09-15)
      วัตถุประสงค์ (Objectives) (1) ทบทวนสถานการณ์ด้านปัญหาสุขภาวะของประชากรสาธารณสุขต่างด้าวในประเทศไทย อันนำไปสู่การวิเคราะห์ปัญหาที่บุคคลดังกล่าวประสบ (Situation Analysis) โดยผ่าน กรณีศึกษา (Case Studies) ในแต่ละพื้นที่ ...
    • ความจำเป็นทางสุขภาพที่ไม่ได้รับการตอบสนอง (Unmet health need) กรณีผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยในและบริการทันตกรรม ในประชากรไทย พ.ศ. 2558 

      เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; ศศิรัตน์ ลัพธิกุลธรรม; Sasirat Lapthikultham; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      ประเทศไทยบรรลุระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ภายใต้ระบบประกันสุขภาพภาครัฐสามระบบหลัก ทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นได้มากขึ้น โดยไม่ต้องกังวลเรื่องภาระค่าใช้จ่ายสำหรับการรักษาพยาบาล ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพระดับครัวเรือน : การสำรวจครัวเรือนรอบที่ 2 และการตรวจร่างกายครั้งที่ 1 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; Direk Patamasiriwat; Sukalaya Kongsawatt (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าต้องการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยปัจจัยทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมไม่เป็นอุปสรรคกีดขวาง การศึกษาครั้งนี้เพื่อประเมินผลของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปี 2546 โดยการสำรว ...
    • บริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในมุมมองของผู้แทนองค์กรด้านคนพิการ ผู้ให้บริการและผู้กำหนดนโยบาย 

      แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล; Kaewkul Tantipisitkul; ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; วันทนีย์ กุลเพ็ง; Wantanee Kulpeng; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; สุรชัย โกติรัมย์; Surachai Kotirum; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)
      การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามุมมองของผู้แทนองค์กรด้านคนพิการ ผู้ให้บริการและผู้กำหนดนโยบายต่อบริการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการในประเทศไทย เก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายน 2557 ...
    • ผลลัพธ์และปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการในคนพิการทางการเคลื่อนไหว 

      วันทนีย์ กุลเพ็ง; Wantanee Kulpeng; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; สาริณี แก้วสว่าง; Sarinee Keawsawang; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลลัพธ์ในรูปของคุณภาพชีวิตและความสามารถในการดำรงชีวิตจากการเข้าถึงอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการ และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการเข้าถึงอุปกรณ์ฯ โดยทำการศึกษาเชิงการสังเกตในระหว่างมีนาคมถึงพฤษภาคม ...
    • พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ใครได้-ใครเสีย : กรณีศึกษาจังหวัดขอนแก่น 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      ในประเทศไทยการบาดเจ็บจากอุบัติภัยเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญอันดับสอง รองจากโรคหัวใจและหลอดเลือด อัตราตายจากอุบัติภัยต่างๆ ดารบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรทางบกมีสัดส่วนที่สูง ภาพที่2 แสดงจำนวนอุบัติเหตุ การบาดเจ็บ ...
    • ระหว่างคนจนกับคนรวย ใครได้รับประโยชน์จากการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; กัญจนา ติษยาธิคม (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2550)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตอบคำถามต่อสาธารณะว่า ระหว่างคนจนกับคนรวย ใครคือผู้ที่ได้รับประโยชน์จากการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทั้งในด้านการใช้บริการสุขภาพและการได้รับประโยชน์จากงบประมาณภาครัฐ ระหว่างกลุ่มประ ...
    • รายงานการศึกษาประสบการณ์การปฏิรูประบบสุขภาพ : กรณีศึกษาประเทศออสเตรเลีย 

      จเร วิชาไทย; Charay Vichathai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      Health Systems Reform in AustraliaIn Australia, equity of access to health care among the poor was a social and political concern since the country was in dependent from the UK. For the past, the reforming of national ...
    • สิทธิประโยชน์ด้านอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการของระบบประกันสุขภาพภาครัฐในประเทศไทย 

      ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; สุรชัย โกติรัมย์; Surachai Kotirum; ธีระ ศิริสมุด; Teera Sirisamutr; สุรเดช ดวงทิพย์สิริกุล; Suradech Doungthipsirikul; แก้วกุล ตันติพิสิฐกุล; Kaewkul Tantipisitkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-10)
      บริการอุปกรณ์เครื่องช่วยคนพิการเป็นบริการที่จำเป็นอย่างยิ่งสำหรับคนพิการ ซึ่งเป็นประชากรกลุ่มหนึ่งที่มีแนวโน้มที่จะเพิ่มจำนวนมากขึ้น สิทธิประโยชน์และบริการดังกล่าวของคนพิการในประเทศไทยมีความไม่เท่าเทียมกันระหว่างระบบประก ...
    • หลักประกันสุขภาพกับการใช้บริการสุขภาพช่องปากในวัยทำงาน 

      วรารัตน์ ใจชื่น; Wararat Jaichuen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-03)
      การวิจัยเชิงพรรณนานี้ต้องการศึกษาสถานการณ์และรูปแบบการใช้บริการสุขภาพช่องปากของวัยทำงาน (15-59 ปี) ตามกลุ่มสิทธิประกันสุขภาพภาครัฐต่างๆ ซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพตามความจำเป็น ใช้ข้อมูลจากการสำรวจ ...
    • แผนงานสร้างเสริมสุขภาวะประชากรสาธารณสุขต่างด้าวในประเทศไทย ระยะที่ 1 

      ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; บงกช นภาอัมพร; Bongkot Napaumporn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2558-09-15)
      วัตถุประสงค์ (Objectives) (1) ทบทวนสถานการณ์ด้านปัญหาสุขภาวะของประชากรสาธารณสุขต่างด้าวในประเทศไทย อันนำไปสู่การวิเคราะห์ปัญหาที่บุคคลดังกล่าวประสบ (Situation Analysis) โดยผ่าน กรณีศึกษา (Case Studies) ในแต่ละพื้นที่ ...