Now showing items 1-8 of 8

    • การบูรณาการองค์ความรู้บทบัญญัติศาสนาอิสลามกับการสร้างเสริมสุขภาพ : โรคเรื้อรัง(โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง) 

      มะหามะ เมาะมูลา; ยูซูฟ นิมะ (สถาบันวิจัยระบบสุขภาพภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์สมาคมจันทร์เสี้ยวการแพทย์และสาธารณสุข, 2552-05)
      เอกสารฉบับนี้นำเสนอสถานการณ์ ปัญหา งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคเรื้อรังสามโรค คือ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง พร้อมกันนี้ได้วิเคราะห์ถึงมาตรการที่จะแก้ไขปัจจัยเสี่ยงของโรคดังกล่าวจากงานวิจัยและบท ...
    • การวิเคราะห์ระบบเฝ้าระวังและป้องกันการฆ่าตัวตายที่ใช้ชุมชนเป็นฐานเพื่อการขยายผลด้วยกรอบแนวคิด CFIR, RE-AIM และ NPT 

      มธุรส ทิพยมงคลกุล; Mathuros Tipayamongkholgul; พัชรี วีรพันธุ์; Patcharee Veeraphan; สุรัสวดี กลิ่นชั้น; Suratsawadee Klinchan; อรพิน ยอดกลาง; Orapin Yodklang; ศิริพร อูปแปง; Siriporn Oubpang; อมรรัตน์ ยาวิชัย; Amonrat Yavichai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)
      สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูนได้พัฒนารูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาการฆ่าตัวตาย เรียกว่า “ระบบเฝ้าระวังและป้องกันการฆ่าตัวตายที่ใช้ชุมชนเป็นฐาน หรือยุทธศาสตร์ 4 เสา” เพื่อลดอัตราการฆ่าตัวตายในจังหวัด โดยดำเนินงานทุกอำเภอ ...
    • การเฝ้าระวังการบาดเจ็บ จังหวัดตรัง ปี 2538 

      พิกุล ดิษฐแก้ว; Pikul Distakaew; วิภา ลุ้งบ้าน; พัชนี ธรรมพานิชย์; อนันต์ ชูหอยทอง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2538)
      การเฝ้าระวังการบาดเจ็บ จังหวัดตรัง ปี 2438การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบขนาดและความรุนแรงของปัญหา ลักษณะทางระบาด-วิทยาของผู้บาดเจ็บ สาเหตุปัจจัยเสี่ยงและการใช้เครื่องป้องกัน ตลอดจนคุณภาพของการได้รับบริการรักษาพยาบาล ...
    • การเฝ้าระวังการเสียชีวิตเนื่องจากภาวะอากาศหนาวในประเทศไทย เดือนตุลาคม 2553 – กุมภาพันธ์ 2554 

      แสงโฉม ศิริพานิช; พรรณนภา เหมือนผึ้ง; อนงค์ แสงจันทร์ทิพย์; Sangchom Siripanich; Pannapa Meaunphueng; Anong Sangchantip (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-03)
      สภาพอากาศที่หนาวเย็น เป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดการเจ็บป่วยและเสียชีวิตสูงขึ้น การสัมผัสกับอากาศหนาวเย็น ทำให้ร่างกายมีอุณหภูมิต่ำกว่าปกติ และเป็นผลต่อระบบสมองและหัวใจ การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง( ...
    • การเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในบ่อบำบัดน้ำเสียบริเวณจังหวัดที่พบผู้ป่วยยืนยันการติดเชื้อ 

      รัตนพร ตั้งวังวิวัฒน์; Ratanaporn Tangwangvivat; สุภาภรณ์ วัชรพฤษาดี; Supaporn Wacharapluesadee; ปภัสสร ภิญโญพรพาณิชย์; Papassorn Pinyopornpanish; ชฎาภรณ์ เพียรเจริญ; Chadaporn Phiancharoen; ภัทรา ดวงแก้วกาศ; Phattra Duengkaewkad; ชิติ หุ่นอุตกฤษณ์; Chiti Hoonaukit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-12-20)
      กรมควบคุมโรค โดยกองโรคติดต่อทั่วไป ได้ดำเนินโครงการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในบ่อบำบัดน้ำเสียบริเวณจังหวัดที่พบผู้ป่วยยืนยันการติดเชื้อ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจหาเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ในสิ่งปฏิกู ...
    • ข้อมูลการเฝ้าระวังเพื่อเยียวยาสังคม 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; เมตตา กูนิง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550-11)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ในฐานะองค์กรหนึ่งที่มีบทบาทในการบริหารจัดการความรู้เพื่อนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นของระบบสุขภาพ ได้สนับสนุนให้มีการวิจัยในการขับเคลื่อนกลไกการจัดการความรู้เพื่อสันติสุขภาวะในพื้นที่ภาคใต้ ...
    • ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการเฝ้าระวัง สถานที่และผลิตภัณฑ์ : กรณีศึกษาการแพร่ระบาดของยาเม็ดสเตียรอยด์ 

      ดวงทิพย์ หงษ์สมุทร; Duangtip Hongsamoot; เพ็ญจันทร์ ประดับมุข; พรพิมล ขัตติมานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      ปัญหาและแนวทางการพัฒนาการเฝ้าระวัง สถานที่และผลิตภัณฑ์ :กรณีศึกษาการแพร่ระบาดของยาเม็ดสเตียรอยด์การศึกษานี้สะท้อนให้เห็นปัญหาของระบบเฝ้าระวังความปลอดภัยของการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณ-สุข โดยมุ่งเน้นไปที่องค์ประกอบของข ...
    • พฤติกรรมเสี่ยงการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มหญิงขายบริการทางเพศ จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2550 

      เกรียงศักดิ์ ครุธกูล; Kriengsak Kruthakool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การสำรวจครั้งนี้เป็นการสำรวจรอบที่ 3 เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของระดับความรู้เกี่ยวกับโรคเอชไอวีและแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อเอชไอวีในหญิงขายบริการทางเพศใน พ.ศ. 2550 การศึกษาอาศัยหลักการเฝ้ ...