Now showing items 1-20 of 120

    • A Rapid Review of Research Publications Pertaining to Thai Drug System 

      ภิญญุภา เปลี่ยนบางช้าง; กุลธิดา ไชยจินดา; อภินันท์ สิริรัตนาธร (มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552-08-26)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ ข้อเสนอกรอบวิจัยเพื่อพัฒนาระบบยา “การเข้าถึงยาถ้วนหน้าของประชากรไทย” วันที่ 26-27 สิงหาคม 2552 ณ ห้องประชุมกมลทิพย์ ชั้น 2 โรงแรมสยามซิตี้ กรุงเทพมหานคร
    • Rational Drug Use : Khon Kaen Network 

      นิสรา ศรีสุระ; Nissara Srisura (โรงพยาบาลขอนแก่น, 2559-08-01)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาสู่โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล พ.ศ. 2559 วันที่ 1-2 สิงหาคม 2559 ณ ห้องประชุมวายุภักษ์ 6-7 ชั้น 5 โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ กรุงเทพฯ
    • Service Plan สาขาพัฒนาระบบบริการให้มีการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 

      พรพิมล จันทร์คุณาภาส; Pornpimon Chankunapars (สำานักบริหารการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข, 2559-08-01)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาสู่โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล พ.ศ. 2559 วันที่ 1-2 สิงหาคม 2559 ณ ห้องประชุมวายุภักษ์ 6-7 ชั้น 5 โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ กรุงเทพฯ
    • กระบวนการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการเกื้อหนุนด้านการใช้ยาของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง 

      ชไมพร กาญจนกิจสกุล; Chamaiporn Kanchanakijsakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-12)
      วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ คือ เพื่อศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมของครอบครัวใน การเกื้อหนุนด้านการใช้ยาของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง และเพื่อสร้างคู่มือว่าด้วยครอบครัว กับการเกื้อหนุนด้านการใช้ยาในผู้สูงอายุที่ป่วยด้ว ...
    • กลไกและปัจจัยในการจัดการให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลโดยภาคประชาชน 

      พักตร์วิภา สุวรรณพรหม; หทัยกาญจน์ เชาวนพูนผล; ศิริตรี สุทธจิตต์; รัตนาภรณ์ อาวิพันธ์; ภูริดา เวียนทอง; ท้ัชชัย เรือนแปง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)
      การศึกษานี้ใช้การทบทวนวรรณกรรมตั้งแต่ปี ค.ศ. 2002 - 2012 และการสัมภาษณ์เชิงลึกบุคลากรทางการแพทย์ ผู้นำชุมชน และประชาชนผู้ใช้ยา ในชุมชนที่มีประสบการณ์การสร้างเสริมศักยภาพของประชาชนร่วมกับการสนทนากลุ่ม เพื่อทบทวนรูปแบบ กลไก ...
    • การขยายมาตรการสนับสนุนและส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมในโรงพยาบาลในประเทศไทย 

      ภิญโญ รัตนาอัมพวัลย์; Pinyo Rattanaumpawan; พรพรรณ กู้มานะชัย; Pornpan Koomanachai; รุจิภาส สิริจตุภัทร; Rujipas Sirijatuphat; วลัยพร วังจินดา; Walaiporn Wangchinda (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-15)
      การติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย ในปี ค.ศ. 2015 องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ใช้ Global Antimicrobial Resistance Surveillance System (GLASS) และดำเนินการส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสม ...
    • การขับเคลื่อนนโยบายการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในประเทศไทย 

      นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee; นุชรินธ์ โตมาชา; Nucharin Tomacha; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผล (rational drug use; RDU) คือ การที่ประชาชนได้รับยาที่เหมาะสมกับความจำเป็นด้านสุขภาพในขนาดและระยะเวลาที่ถูกต้อง เกิดเป็นค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดต่อตัวผู้ป่วยและสังคม การพัฒนาแนวคิด RDU ให้เป็นนโยบายที่นำ ...
    • การขับเคลื่อนโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล โรงพยาบาลทั่วไทย ใช้ยาคุ้มค่า ปลอดภัย ไม่ซ้ำซ้อน 

      วีระศักดิ์ พุทธาศรี; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นความจำเป็นเร่งด่วนของประเทศที่ต้องดำเนินการ เนื่องจากส่งผลต่อการรักษาผู้ป่วยในด้านประสิทธิผล คุ้มค่า ปลอดภัย และสามารถลดการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ และปัญหาเชื้อดื้อยา องค์การอนามัยโลกมีคำจำกัดความของ ...
    • การจัดการระบบยาเพื่อส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล การขับเคลื่อนระดับจังหวัดสู่ข้อเสนอเชิงนโยบาย 

      ศศิธร เอื้ออนันต์; Sasitorn Eua-Anant (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น, 2559-08-02)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาสู่โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล พ.ศ. 2559 วันที่ 1-2 สิงหาคม 2559 ณ ห้องประชุมวายุภักษ์ 6-7 ชั้น 5 โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ กรุงเทพฯ
    • การจัดทำทิศทางและโจทย์วิจัยเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sriphan Tantiwet; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; พักตร์วิภา สุวรรณพรหม; Puckwipa Suwannaprom; ศิริตรี สุทธจิตต์; Siritree Suttajit; อัญชลี จิตรักนที; Anchalee Jitraknatee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบยา สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ถูกจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2552 และให้การสนับสนุนทุนวิจัยรวมทั้งจัดการงานวิจัยอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากสถานการณ์ในระบบยาของประเทศและปัจจัยแวดล้อม ...
    • การจัดหาและกระจายยา 

      เนตรนภิส สุชนวนิช; Netnapis Suchonwanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-08)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย (ฉบับที่ 3) วันที่ 15-16 สิงหาคม พ.ศ. 2562 ณ ห้องประชุมตันจง พาการ์ ชั้น 8 โรงแรมอัมรา กรุงเทพฯ
    • การดำเนินงานโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล RDU hospital 

      เกษม ฟั่นคำอ้าย (เครือข่ายโรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล เขตสุขภาพที่ 1, 2559-08-02)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การพัฒนาสู่โรงพยาบาลส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล พ.ศ. 2559 วันที่ 1-2 สิงหาคม 2559 ณ ห้องประชุมวายุภักษ์ 6-7 ชั้น 5 โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ กรุงเทพฯ
    • การติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรการระบุเหตุผลประกอบการสั่งใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ ณ โรงพยาบาลประจำจังหวัดแห่งหนึ่งในประเทศไทย 

      นัฎฐิตา ทารัตน์; Nattita Tharat; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; สุมนต์ สกลไชย; Sumon Sakolchai; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; Onanong Waleekhachonloet; เชิดชัย สุนทรภาส; Cheardchai Soontornpas (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-09)
      ในปีงบประมาณ 2556 กรมบัญชีกลางได้ออกมาตรการให้แพทย์ระบุเหตุผลประกอบการสั่งใช้ยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ (มาตรการ A-F) เพื่อเพิ่มความสมเหตุผลของการใช้ยาและเพื่อควบคุมค่าใช้จ่ายในกลุ่มผู้ป่วยนอกสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้ารา ...
    • การทบทวนกลไก วิธีการ หรือ รูปแบบในการจัดการให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลในสถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; ธนนรรจ์ รัตนโชติพานิช; อัญชลี จิตรักนที (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06-05)
      งานวิจัยชิ้นนี้ได้ทำการทบทวนเอกสารเพื่อศึกษากลไกระดับชาติในการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในภาครัฐที่เคยมีการดำเนินการและที่กำลังดำเนินการในปัจจุบัน ภายใต้ข้อแนะนำขององค์การอนามัยโลก และได้ทำการเก็บ primary data ...
    • การทบทวนการเข้าถึงยาจำเป็นที่มีราคาแพงผ่านกระบวนการคัดเลือกยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ: กรณีบัญชีย่อย จ (2) 

      จุฑาทิพ เลาหเรืองชัยยศ; Jutatip Laoharuangchaiyot; ณัฏฐิญา ค้าผล; Nattiya Kapol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)
      ประเทศไทยมี “บัญชียาหลักแห่งชาติ” เป็นเครื่องมือสำคัญในระบบยาของประเทศ กองทุนสุขภาพภายใต้ระบบประกันสุขภาพภาครัฐใช้บัญชียาหลักแห่งชาติเป็นมาตรการอ้างอิงสิทธิประโยชน์ด้านยาเพื่อการเข้าถึงยาของประชาชน บทความนี้เป็นการทบทวนเ ...
    • การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการทำ Managed Entry Agreement (MEA) 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; Cha–oncin Sooksriwong; ปิยพัทธ์ โอวาท; Piyapat Owat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      เมื่อยาที่มีราคาแพงหรือยาใหม่ที่มีข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพของยาที่ยังไม่สมบูรณ์ออกสู่ตลาด จะมีผลกระทบต่อผู้ซื้อบริการสุขภาพในฐานะที่เป็นผู้จ่ายเงินในระบบสุขภาพ การทำข้อตกลงในรูปแบบ managed entry agreement หรือ MEA ...
    • การปฏิรูประบบการจัดหาและการใช้ยาในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2541 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; จงกล เลิศเธียรดำรง; วิชช์ เกษมทรัพย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)
      ภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นเมื่อเกือบสองปีที่ผ่านมาได้ส่งผลให้เกิดการรณรงค์เรียกร้องให้ประหยัด ให้ใช้ของที่ผลิตในประเทศ เพื่อลดการสูญเสียเงินตราออกนอกประเทศ ยาจัดว่าเป็นสินค้าที่ต้องอาศัยปัจจัยการผลิต (เช่นวัตถุดิบ) ...
    • การประเมินการกระจายแนวคิดและบรรทัดฐานของสังคมเกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล 

      สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; พัชรี ดวงจันทร์; Patcharee Duangchan; กัญญดา อนุวงศ์; Kunyada Anuwong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-03)
      นับตั้งแต่เริ่มดำเนินโครงการส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (ASU) เมื่อปี 2550 เป็นต้นมา ASU ยังคงมีการดำเนินอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน มีสถานพยาบาลที่ดำเนินโครงการนี้เพิ่มมากขึ้นในแต่ละปี ภายใต้ความร่วมมือของภาค ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย ปีที่ 1 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; Saowalak Turongkaravee; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; วันวิสาข์ อุดมสินประเสริฐ; Wanvisa Udomsinprasert; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      การตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ยามีความหลากหลายและมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับการไม่ตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ก่อนเริ่มใช้ยา แต่ทว่าทรัพยากรทางสุขภ ...