• การถ่ายทอดหลักฐานวิชาการกิจกรรมทางกายสู่นโยบายการสร้างเมืองที่กระฉับกระเฉง: การทบทวนวรรณกรรมแบบย่อ 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ หมวดที่ 11 มุ่งมั่นให้เมืองและการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์มีความครอบคลุม ปลอดภัย มีภูมิต้านทานและยั่งยืน เนื่องด้วยการขยายตัวของเมืองที่รวดเร็วส่งผลต่อการเพิ่มภาระโรคไม่ติดต่ออันเนื่อง ...
    • การบริหารจัดการการส่งเสริมกิจกรรมทางกายของสิบสององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย 

      ธีรพงษ์ คำพุฒ; Theerapong Khamput; กิตติพงษ์ ภัสสร; Kittipong Patsorn; ธวัชชัย ทองบ่อ; Tawadchai Thongbo; เศวต เซี่ยงลี่; Sawed Seunglee; ธวัชชัย แคใหญ่; Tawatchai Keryai; วัชรินทร์ แสงสัมฤทธิ์ผล; Watcharin Sangsamritpol; มังกร พวงครามพันธุ์; Mungkorn Puangkrampun; จิราภรณ์ กมลรังสรรค์; Jiraporn Kamonrungsan; ปทุมรัตน์ สามารถ; Pathumrat Samart; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      การส่งเสริมกิจกรรมทางกายต้องอาศัยความร่วมมือในการทำงานจากหลากหลายภาคส่วน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีโครงสร้างการบริหารงานที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้กับประชาชนในพื้นที่ชุมชนของตน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึ ...
    • การประเมินการส่งเสริมกิจกรรมทางกายในบริบทเมืองของไทยด้วยแผนปฏิบัติการส่งเสริมกิจกรรมทางกายโลก 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; อรทัย วลีวงศ์; Orratai Waleewong; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      กิจกรรมทางกายไม่เพียงพอเป็นปัจจัยเสี่ยงอันดับที่สี่ของการเสียชีวิตด้วยโรคไม่ติดต่อ เพื่อแก้ไขปัญหาการมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ จึงมีการคิดค้นและสนับสนุนให้มีการปฏิบัติในประเทศไทย ซึ่งได้เน้นความสำคัญของทั้งสังคม ...
    • การมีพื้นที่ของสตรีมุสลิม (สตรีหม้าย) กับการสร้างเสริมสุขภาพผ่านการมีกิจกรรมทางกายภายใต้บริบทสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ระยะที่ 2) 

      สุรชัย ไวยวรรณจิตร; Surachai Vaivanjit; ประภาภรณ์ หลังปูเต๊ะ; Prapaporn Langputeh; มูฮำหมัดราพีร์ มะเก็ง; Muhummudrapee Makeng; คอลัฟ ต่วนบูละ; Khalaf Tuanbula; แวนีซะ สุหลง; Vanisah Sulong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)
      การศึกษาเรื่อง การมีพื้นที่ของสตรีมุสลิม (สตรีหม้าย) กับการสร้างเสริมสุขภาพผ่านการมีกิจกรรมทางกายภายใต้บริบทสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีวัตถุประสงค์การวิจัย คือ ศึกษาการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัด ...
    • การมีพื้นที่ของสตรีมุสลิมกับการสร้างเสริมสุขภาพผ่านการมีกิจกรรมทางกายภายใต้บริบทสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ระยะที่ 1 ) 

      สุรชัย ไวยวรรณจิตร; ประภาภรณ์ หลังปูเต๊ะ; มูฮำหมัดราพีร์ มะเก็ง; แวนีซะ สุหลง; ซอลาฮุดดีน การิแย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      การวิจัยเรื่อง “การมีพื้นที่ของสตรีมุสลิมกับการสร้างเสริมสุขภาพผ่านการมีกิจกรรมทางกายภายใต้บริบทสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้” มีวัตถุประสงค์การวิจัยคือ 1) เพื่อศึกษาข้อมูลการมีพื้นที่ของสตรีมุสลิมกับการสร้างเ ...
    • การส่งเสริมการเดินและใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน: กรณีศึกษา 4 ชุมชนในประเทศไทย 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; อัจจิมา มีพริ้ง; Atjima Meepring (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      การเดินและการใช้จักรยานเป็นกิจกรรมทางกายรูปแบบหนึ่งที่ประชาชนสามารถทำได้อย่างสม่ำเสมอในชีวิตประจำวัน ซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินกระบวนการดำเนินงานส่งเสริมการเดิน ...
    • การส่งเสริมกิจกรรมทางกายในระดับสิ่งแวดล้อมและนโยบายในประเทศไทย: การทบทวนเชิงวิเคราะห์ 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      การมีกิจกรรมทางกายที่เพิ่มขึ้นก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมาก โดยไม่เพียงลดการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรและลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลจากโรคไม่ติดต่อ แต่ยังส่งผลต่อการสร้างสังคมที่เข้มแข็ง ลดความเหลื่อมล้ำในสังคมและเพิ่มคุณภาพชีวิต ...
    • กิจกรรมทางกาย การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และค่าใช้จ่ายในการเดินทาง: กรณีศึกษาของ 3 ชุมชนในประเทศไทย 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthrasri; สรศักดิ์ เจริญสิทธิ์; Sorasak Charoensit; อัจจิมา มีพริ้ง; Atjima Meepring; รัชพร คงประเสริฐ; Ratchaporn Kongprasert; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Ruengsom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      การเดินและการใช้จักรยานเป็นกิจกรรมทางกายรูปแบบหนึ่งที่ประชาชนสามารถทำได้อย่างสม่ำเสมอในชีวิตประจำวัน ซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการจัดการสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเด ...
    • กิจกรรมทางกายในเด็กและเยาวชนไทย อายุ 0-22 ปี: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ 

      ทรงทรรศน์ จินาพงศ์; Songdhasn Chinapong; ระวีวรรณ มาพงษ์; Raweewan Maphong; ธนัญพร พรมจันทร์; Thnunpron Promjun; อารีกุล อมรศรีวัฒนกุล; Areekul Amornsriwatanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      ภูมิหลังและเหตุผล: การมีกิจกรรมทางกายในระดับที่เพียงพอตามคำแนะนำขององค์การอนามัยโลกจำเป็นต่อการพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหวและสมรรถภาพทางกายในเด็กและเยาวชน และมีส่วนช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเมื่ ...
    • คนไทยมีกิจกรรมทางกายเพียงพอตามเกณฑ์หรือไม่ : ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-30)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ (adequate physical activity level) ในภาพรวมและจำแนกตามกลุ่มประชากรย่อยของประชากรไทยอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป จากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ ปี พ.ศ. 2558 ...
    • คนไทยใช้พลังงานในกิจกรรมทางกายและพฤติกรรมเนือยนิ่งเท่าไร: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpaisan; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพลังงานที่ใช้ในกิจกรรมทางกายระดับปานกลางและหนักและพฤติกรรมเนือยนิ่งของประชากรไทยทั้งประเทศ โดยจำแนกพลังงานที่ใช้ตามกลุ่มกิจกรรม ได้แก่ การทำงาน การเดินทาง นันทนาการ และพฤติกรรมเนือยนิ่ง ...
    • ความสัมพันธ์ระหว่างกิจกรรมทางกายจากการเดินทางและลักษณะทางประชากรของประชาชนในภูมิภาคของประเทศไทย 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien; วีระศักดิ์ พุทธาศรี; Weerasak Putthasri (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      ประโยชน์ทางสุขภาพจากกิจกรรมทางกายสัมพันธ์กับการเดิน การใช้จักรยาน และการใช้ขนส่งสาธารณะ สถาบันการเดินและการจักรยานไทยได้ส่งเสริมการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำวันในหลายจังหวัดตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2560 การศึกษานี้ ...
    • ความแตกต่างของการใช้พลังงานจากกิจกรรมทางกายระหว่างคนเมือง/คนชนบทในประเทศไทย: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananonta; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      มีหลักฐานเชิงประจักษ์เป็นจำนวนมากที่แสดงให้เห็นประโยชน์ของการมีกิจกรรมทางกาย หลายการศึกษาระบุว่า ปัจจัยทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ถือเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการมีกิจกรรมทางกาย การกำหนดนโยบายจึงต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ การศึกษานี้ ...
    • ความแม่นยำและความเที่ยงตรงของแบบสอบถามกิจกรรมทางกายสำหรับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร 

      วีรชาติ ศรีจันทร์; Weerachat Srichan; พัชรี มั่นคง; Phatchari Mankong; ชาลีลักษม์ ทองประเสริฐ; Chaleelak Thongprasert; ทิพวัลย์ พงษ์เจริญ; Tippawan Pongcharoen; อมรพันธ์ อัจจิมาพร; Amornpan Ajjimaporn; สืบพงษ์ กอวชิรพันธ์; Sueppong Gowachirapant (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและทดสอบความแม่นยำและความเที่ยงตรงของแบบสอบถามกิจกรรมทางกายสำหรับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร (physical activity questionnaire for pregnant and lactating women, PAQ-PL) โดยพัฒนาแบบสอบถ ...
    • นโยบายกิจกรรมทางกายในผู้สูงอายุ: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ 

      อัจฉรา ปุราคม; Atchara Purakom; มาสริน ศุกลปักษ์; Masarin Sukolpuk; นิตยา แสงชื่น; Nittaya Sangcheun (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-20)
      นโยบายกิจกรรมทางกายสำหรับผู้สูงอายุกลุ่มภาวะพฤฒพลังมีความสำคัญในระดับสากล รวมทั้งประเทศไทย ฐานข้อมูลเพื่อการกำหนดนโยบายกิจกรรมทางกายสำหรับผู้สูงอายุ จึงมีความจำเป็นในการกำหนดทิศทางการส่งเสริมกิจกรรมทางกายผู้สูงอายุกลุ่มภ ...
    • บทเรียนจากการพัฒนาแผนการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พ.ศ. 2561 - 2573 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ธีรพงษ์ คำพุฒ; Theerapong Khamput; จิราภรณ์ กมลรังสรรค์; Jiraporn Kamonrungsan; ปรารถนา พรหมสาขา ณ สกลนคร; Prattana Promsaka Na Sakolnakorn; อุดม อัศวุตมางกุร; Udom Asawutmangkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-12)
      แผนการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พ.ศ. 2561 - 2573 เป็นแผนยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกที่ให้ความสำคัญกับการมีกิจกรรมทางกายของประชาชนไทย แผนนี้ได้รับการพัฒนาผ่านกระบวนการการมีส่วนร่วมจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในปี พ.ศ. 2558 โดยกรมอนามัย ...
    • บทเรียนจากการพัฒนาและนำนโยบายส่งเสริมการก้าวเดินไปปฏิบัติ 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชลพันธ์ ปิยถาวรอนันต์; Chonlaphan Piyathawornanan; อุดม อัศวุตมางกุร; Udom Asawutmangkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      นโยบายส่งเสริมการก้าวเดิน ได้รับการพัฒนาในปี พ.ศ. 2562 โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ตามแผนการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พ.ศ. 2561-2573 โดยดำเนินการผ่านโครงการก้าวท้าใจ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ...
    • ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ สมาคมนักระบาดวิทยาภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้านสาธารณสุขและการพัฒนาที่ยั่งยืน 

      ธวัชชัย อภิเดชกุล; Tawatchai Apidechkul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)
      การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ สมาคมรักระบาดวิทยาภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด้านสาธารณสุขและการพัฒนาที่ยั่งยืน (The 14th SEA Regional Scientific Meeting of the International Epidemiological Association and International ...
    • พลังงานจาก 4 กลุ่มกิจกรรมทางกายที่คนไทยใช้ในแต่ละวัน 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; สุลัดดา พงษ์อุทธา; Suladda Phonguttha; วิชชุกร สุริยะวงศ์ไพศาล; Wichukorn Suriyawongpisarn; อรณา จันทราศิริ; Orana Chantrasiri; ทักษพล ธรรมรังสี; Thaksaphon Thamrungsi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพลังงานที่ใช้ในกิจกรรมทางกาย (Physical Activity) ในแต่ละวันของประชากรไทย ทั้งในภาพรวมและจำแนกตามกลุ่มประชากรย่อย โดยจำแนกพลังงานที่ใช้ตามกลุ่มกิจกรรม (Domains) ได้แก่ กลุ่มกิจกรรมในการทำงาน ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2562 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2562 ประกอบด้วย จดหมายถึงบรรณาธิการ เรื่อง ช่องว่างในการควบคุมกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรี และกลยุทธ์ของธุรกิจน้ำเมา และการใช้กัญช ...