Browsing by Subject "ความรุนแรง"
Now showing items 1-20 of 23
-
OSCC : One Stop Crisis Center การทำงานร่วมกับชุมชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-20)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมมหกรรมสุขภาพชุมชน 2552 ในหัวข้อ เรียนรู้รับมือความรุนแรงทางสังคมและสุขภาพในชุมชนอย่างเท่าทัน วันศุกร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2552 เวลา 09.00-12.30 ณ ห้องย่อยที่ 6 อาคารอิมแพ็ค คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ เมืองทองธานี -
การฆ่าตัวตายในจังหวัดเชียงใหม่
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2542)Suicide in Chiang Mai The cause of suicide were multi-factorial components. In the group A HIV/AIDS was the most common ( 29.4 percent ). The second most common was alcohol-related(18.7 percent), and the third chronic ... -
การประเมินระบบสวัสดิการสังคมสำหรับสตรีที่ได้รับความรุนแรง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพรวมทั้งระบบและรูปแบบของการจัดบริการสวัสดิการสังคมด้านความรุนแรงต่อสตรี ทั้งในภาครัฐและเอกชน ทั้งในด้านการป้องกัน การพิทักษ์สิทธิ์ การสร้างและพัฒนาภูมิคุ้มกันทางสังคม การฟื้นฟูสภาพและ ... -
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสังเคราะห์งานวิจัยด้านความรุนแรงในสังคมไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้จากงานวิจัยด้านความรุนแรงและจัดวางระบบฐานข้อมูลงานวิจัยด้านนี้ในระบบ World Wide Web งานวิจัยที่ศึกษาในประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2524-2544 จำนวน 190 เรื่อง ... -
การสร้างอัตลักษณ์ใหม่ของผู้ชายเลิกเหล้า เพื่อลดความรุนแรงต่อผู้หญิงและเด็ก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-20) -
ความรุนแรงต่อผู้พิการ : สถานะความรู้และข้อเสนอโครงการวิจัย
(แผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย, 2549-03)ความรุนแรงเกิดได้กับคนทั่วไปทุกเพศ ทุกวัย ทุกกลุ่ม หากแต่ว่าด้วยโครงสร้างทางสังคมวัฒนธรรมทำให้คนกลุ่มหนึ่งมีแนวโน้มที่ตกเป็นเหยื่อของความรุนแรงมากกว่าคนอีกกลุ่มหนึ่ง บทความชิ้นนี้มุ่งทบทวนแนวคิด และสถานะองค์ความรู้ที่เกี ... -
ความรุนแรงและปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อโควิด-19 ในหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด: การศึกษาแบบภาคตัดขวางในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-06)ภูมิหลังและเหตุผล: การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) ก่อให้เกิดวิกฤติทางสุขภาพที่สำคัญ โดยมีผู้ป่วยหลายล้านคนทั่วโลก หญิงตั้งครรภ์เป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเจ็บป่วยที่รุนแรงจนถึงการเสียชีวิต ผู้ที่ตั้งครรภ์และติดเชื้อโควิด-19 ... -
ความรุนแรงในครอบครัว : สถานะงานวิจัยและข้อเสนอเพื่อพัฒนาโครงสร้างระบบวิจัยในอนาคต
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)ความรุนแรงในครอบครัว สถานะของงานวิจัยและข้อเสนอเพื่อพัฒนาระบบวิจัยในอนาคต เป็นรายงานการทบทวนองค์ความรู้เพื่อให้ได้กรอบเนื้อหาองค์ความรู้ด้านงานวิจัยเกี่ยวกับความรุนแรงในครอบครัวทั้งในประเทศและต่างประเทศและข้อเสนอทิศทางระ ... -
ดอกไม้ในพายุ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-20)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมมหกรรมสุขภาพชุมชน 2552 ในหัวข้อ เรียนรู้รับมือความรุนแรงทางสังคมและสุขภาพในชุมชนอย่างเท่าทัน วันศุกร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2552 เวลา 09.00-12.30 ณ ห้องย่อยที่ 6 อาคารอิมแพ็ค คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ เมืองทองธานี -
ดอกไม้ในพายุ : กรณีศึกษาประสบการณ์ของผู้หญิงที่ถูกกระทำความรุนแรงซ้ำซากในครอบครัว
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาถึงการผลิตซ้ำของความรุนแรงและรูปแบบการต่อต้านขัดขืนของผู้ถูกกระทำเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสังเกตแบบมีส่วนร่วม โดยมุ่งตอบคำถามที่สำคัญคือ การผลิตซ้ำดำรงอยู่ในบร ... -
ดอกไม้ในพายุ : กรณีศึกษาผ่านมุมมองประสบการณ์ของผู้หญิงที่ถูกกระทำความรุนแรงซ้ำซากในครอบครัว
(สถานีอนามัยนาเกลือ, 2552-07-16)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 1 : R2R in Primary care แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักวิจัย R2R ที่ได้รับรางวัลยอดเยี่ยม ... -
ทิศทางนโยบายในการช่วยเหลือเด็ก และสตรีที่ถูกกระทำรุนแรง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-20)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมมหกรรมสุขภาพชุมชน 2552 ในหัวข้อ เรียนรู้รับมือความรุนแรงทางสังคมและสุขภาพในชุมชนอย่างเท่าทัน วันศุกร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2552 เวลา 09.00-12.30 ณ ห้องย่อยที่ 6 อาคารอิมแพ็ค คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ เมืองทองธานี -
บทบาทเวชศาสตร์ครอบครัวต่อผู้ป่วยที่ถูกกระทำรุนแรงทางเพศในโรงพยาบาลชุมชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-12)การกระทำรุนแรงทางเพศเป็นปัญหาสำคัญและมีสถิติที่เพิ่มขึ้นทุกขณะ ท้าทายต่อบทบาทของแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของทีมสหสาขาวิชาชีพ การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงพรรณนาในผู้ป่วยที่ถูกกระทำรุนแรงทางเพศที่มารับกา ... -
ประสิทธิภาพและความเหมาะสมของการประเมิน LEPTO-SCORE ในการลดความรุนแรงของผู้ป่วยสงสัยโรคเลปโตสไปโรสิสที่ส่งรักษาต่อโรงพยาบาลขอนแก่น : การวิจัยแบบสุ่มขั้นภูมิและมีกลุ่มเปรียบเทียบในจังหวัดขอนแก่น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)ประสิทธิภาพและความเหมาะสมของการประเมิน LEPTO-SCORE ในการลดความรุนแรงของผู้ป่วยสงสัยโรคเลปโตสไปโรสิสที่ส่งรักษาต่อโรงพยาบาลขอนแก่น: การวิจัยแบบสุ่มขั้นภูมิและมีกลุ่มเปรียบเทียบในจังหวัดขอนแก่น การศึกษาเพื่อทดสอบประสิทธิภา ... -
พฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์กับการกระทำรุนแรงของสามีต่อภรรยา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)การวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบควบคุมประชากรจับคู่ มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของภรรยาและ/หรือสามีกับการกระทำรุนแรงของสามีต่อภรรยาในจังหวัดขอนแก่น การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามกับกลุ่มศ ... -
รายงานสถานการณ์ความรุนแรงต่อผู้หญิงและเด็กที่ปรากฎทางสื่อมวลชนในรอบปี 2545
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)รายงานฉบับนี้เป็นผลมาจากการดำเนินโครงการ “เกาะติดสถานการณ์ความรุนแรงที่ปรากฏทางสื่อมวลชน ในช่วงปี พ.ศ. 2545” ซึ่งเป็นความพยายามที่จะเชื่อมนักวิจัยในชุดโครงการวิจัยเรื่องความรุนแรงต่อผู้หญิงและเด็ก และผู้ปฏิบัติงานในเครือ ... -
วิทยาศาสตร์ภายใต้วิธีคิดแบบลดส่วนกับความรุนแรงต่อสุขภาพ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)ในช่วงของการเปลี่ยนผ่านที่สำคัญ สังคมไทยซึ่งอยู่ในระหว่างการปฏิรูปในหลายๆ ด้าน รวมไปถึงการปฏิรูประบบการศึกษาและระบบสุขภาพด้วยนั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องหันกลับมาสำรวจทบทวนสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระห ... -
ศักยภาพประชาคมในการจัดการปัญหาความรุนแรงต่อผู้หญิงและเด็ก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)งานวิจัยนี้ศึกษาถึงศักยภาพประชาคมที่สนองตอบต่อปัญหาความรุนแรงทั้งในระดับมหภาคและปัจเจก โดยวิเคราะห์ตั้งแต่ภาพรวมของสถานการณ์ประชาคม การก่อเกิด แนวคิด พัฒนาการ บทบาท และรูปแบบในการจัดการปัญหาความรุนแรงต่อผู้หญิงและเด็ก ... -
สถานการณ์การกระทำความรุนแรงต่อเด็กที่มารับบริการ ณ ศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็กและสตรีโรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-12)ปัจจุบันมีนโยบายเร่งด่วนในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์เพื่อบูรณาการจัดการปัญหาเด็กและสตรีที่ถูกกระทำรุนแรง ซึ่งยุทธศาสตร์หนึ่ง คือ พัฒนาระบบรายงานข้อมูลแล้วนำมาวิเคราะห์ในการจัดการปัญหาต่อไป การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึ ... -
สถานการณ์และความสูญเสียปีสุขภาวะจากความรุนแรงในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2547
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2550-09)วัตถุประสงค์การศึกษา 1) เพื่อทบทวนแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการกระทำความรุนแรงโดยสังเขป ตามประเภทความรุนแรงดังนี้ 1.1 ความรุนแรงต่อเด็ก 1.2 ความรุนแรงในครอบครัว 1.3 การฆ่าตัวตาย 1.4 ความรุนแรงใน 3 จังหวัดชายแดนใต้ 2) ...