Now showing items 1-7 of 7

    • กลุ่มเปราะบางกับความเหลื่อมล้ำในสถานการณ์โควิด 

      ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sri-ngernyuang; ปกรณ์ สิงห์สุริยา; Pagorn Singsuriya; ปิยณัฐ ประถมวงษ์; Piyanat Prathomwong; ชุติมา พัฒนพงศ์; Chutima Pattanapong; วาศินี กลิ่นสมเชื้อ; Vasinee Klinsomchua; สายสุดา วงษ์จินดา; Saisuda Vongjinda (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      งานเสวนาออนไลน์ “กลุ่มเปราะบาง” กับความเหลื่อมล้ำในสถานการณ์โควิด ซึ่งเป็นที่มาของเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ และเป็นส่วนหนึ่งของแผนดำเนินงานวิจัยภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจัยและขับเคลื่อนนโยบายสังคมไม่ทอดทิ้ง (Research ...
    • การทบทวนนิยาม ความหมาย รูปแบบ และแนวคิดที่เกี่ยวกับการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ เด็ก ผู้หญิง และผู้สูงอายุ 

      อนรรฆ พิทักษ์ธานิน; มนทกานต์ ฉิมมามี; ปุณณฑรีย์ เจียวิริยบุญญา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556)
      รายงานการศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับการทบทวนนิยาม ความหมาย รูปแบบ และแนวคิด ที่เกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ เด็ก ผู้หญิง และผู้สูงอายุ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ หนึ่ง ทบทวนนิยาม มโนทัศน์ และแนวคิดทางสังคมที่อยู่เบื้องหลั ...
    • การเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ เด็ก ผู้หญิง และผู้สูงอายุ 

      อนรรฆ พิทักษ์ธานิน; มนทกานต์ ฉิมมามี; ปุณณฑรีย์ เจียวิริยบุญญา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-11)
      การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ เด็ก ผู้หญิง และผู้สูงอายุ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ หนึ่ง ทบทวนนิยาม มโนทัศน์ และแนวคิดทางสังคม ที่อยู่เบื้องหลังข้อตกลงระหว่างประเทศและกฎหมายของต่างประเทศรวมถึงประเทศ ...
    • ความเป็นธรรมในงานวิจัย: เรียนรู้จากสถานการณ์โควิด 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      บทบรรณาธิการฉบับนี้เป็นการค้นหามุมมองความเป็นธรรมในระบบงานวิจัยที่เกิดขึ้นในช่วงสถานการณ์โควิดที่เป็นโอกาสของการค้นหาความรู้และมีรายจ่ายที่เพิ่มขึ้นมากในการวิจัยค้นหาความรู้ รายจ่ายการวิจัยและพัฒนาประเทศไทยปี พ.ศ. 2563 ...
    • ปัญญาประดิษฐ์กับความเป็นธรรมทางสุขภาพและสังคม 

      ปิยณัฐ ประถมวงษ์; Piyanat Prathomwong; ปกรณ์ สิงห์สุริยา; Pagorn Singsuriya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวคิดและกรอบการวิจัยเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์กับความเป็นธรรมทางสุขภาพและสังคม และเพื่อเสนอวาระวิจัยที่จะตอบสนองการวิจัยในระยะยาวเกี่ยวกับประเด็นดังกล่าว งานวิจัยนี้เก็บข ...
    • แผนดำเนินงานวิจัยภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจัยและขับเคลื่อนนโยบายสังคมไม่ทอดทิ้งกัน 

      ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sringernyuang; ปกรณ์ สิงห์สุริยา; Pagorn Singsuriya; ปิยณัฐ ประถมวงษ์; Piyanat Prathomwong; สายสุดา วงษ์จินดา; Saisuda Vongjinda; ชุติมา พัฒนพงศ์; Chutima Pattanapong; วาศินี กลิ่นสมเชื้อ; Vasinee Klinsomchua (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)
      โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับสถานการณ์ปัญหา สาเหตุและแนวทางการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงสังคม ที่มีเป้าหมายในการสร้างสังคมแห่งการเกื้อกูล ไม่ทอดทิ้งกัน โดยผ่านชุดการวิจัยเกี่ยวกับกลุ่มเป้าหมาย ...
    • แผนดำเนินงานวิจัยและขับเคลื่อนนโยบายสังคมไม่ทอดทิ้งกัน (ระยะที่ 2) 

      ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sringernyuang; ชรรินชร เสถียร; Chararinchon Satian; อริสา สุมามาลย์; Arisa Sumamal; ธิดา โสตถิโยธิน; Tida Sottiyotin; ภค หว่านพืช; Phakha Whanpuch; วาศินี กลิ่นสมเชื้อ; Vasinee Klinsomchua (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-03)
      แผนดำเนินงานวิจัยและขับเคลื่อนนโยบายสังคมไม่ทอดทิ้งกัน มีเป้าหมายการทำงานวิจัยและขับเคลื่อนนโยบาย เพื่อสร้างระบบและกลไกที่เน้นให้เกิดสังคมที่เสมอภาคทางโอกาส โดยเน้นกลุ่มเป้าหมายประชากรกลุ่มในสังคมที่เสียเปรียบ ด้อยโอกาสห ...