Now showing items 1-10 of 10

    • การค้นหาแนวคิดเรื่องสิทธิและความเป็นธรรมในสุขภาพจากมุมมองทางสังคมและวัฒนธรรมเพื่อการปฏิรูปการดูแลสุขภาพในประเทศไทย 

      สุวจี จันทร์ถนอม-กู๊ด; Suvajee Chanthanom-Good (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      การค้นหาแนวคิดเรื่องสิทธิและความเป็นธรรมในสุขภาพจากมุมมองทางสังคมและวัฒนธรรมเพื่อการปฏิรูปการดูแลสุขภาพในประเทศไทย การค้นหาแนวคิดเกี่ยวกับสิทธิและความเป็นธรรมทางสุขภาพ จากมุมมองของสังคมและ วัฒนธรรมไทย เป็นงานวิจัยที่พยาย ...
    • ความเป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-03)
      วรรณกรรมด้านความเป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพมีปรากฏมากขึ้น โดยเฉพาะภายหลังองค์การอนามัยโลกแพร่รายงานของคณะกรรมาธิการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ ประเทศสหราชอาณาจักรซึ่งมีระเบียบวิธีการอธิบายความไม่เป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพ ...
    • ความเป็นธรรมด้านสุขภาพในผู้สูงอายุไทยภายใต้สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ 

      เมธิณี อินทรเทศ; Methinee Intarates; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ธีรพล ทิพย์พยอม; Teerapon Dhippayom; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      ภูมิหลังและเหตุผล: ความเป็นธรรมทางสุขภาพ คือ การปราศจากช่องว่างเชิงระบบในการจัดสรรทรัพยากร การเข้าถึงและการใช้บริการสุขภาพ ผู้สูงอายุมีโอกาสเป็นโรคเรื้อรังประเภทโรคไม่ติดต่อ (non-communicable diseases: NCDs) หลายโรคร่วมกันได้สูง ...
    • ความเป็นธรรมในการได้รับบริการสุขภาพช่องปากของประชากรไทย: การวิเคราะห์ผลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2560 

      ธีรวัฒน์ ทัศนภิรมย์; Teerawat Tussanapirom; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      ประเทศไทยประสบความสำเร็จในการจัดให้มีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแก่ประชาชนตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ส่งผลให้ประชากรเกือบทั้งหมดมีสิทธิในสวัสดิการการรักษาทางทันตกรรมที่จัดให้โดยรัฐ แต่จากผลการสำรวจระดับประเทศที่ผ่านมานั้น ...
    • ความเป็นธรรมในระบบสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
    • ดัชนีชี้วัดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ 

      วิโรจน์ ณ ระนอง; Wirot Na Ranong; อัญชนา ณ ระนอง; Anchana Na Ranong; สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย; Thailand Development Research Institute Foundation (สถาบันวิจัยสาธารณสุข, 2550)
      วัตถุประสงค์หลักของรายงานนี้คือ พยายามวิเคราะห์ถึงแนวคิดเรื่องความเป็นธรรมด้านสุขภาพ และดัชนีชี้วัดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ โดยพยายามลงไปถึงด้านปรัชญา แนวคิด การตีความและข้อจำกัดของดัชนีเหล่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งดัชนีที่ม ...
    • ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ถนอม สุภาพร; จิตปราณี วาศวิท (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร และแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ...
    • ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย 

      ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ถนอม สุภาพร; จิตปราณี วาศวิท (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าโดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรและแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ...
    • ประกาศกรอบการวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ประจำปีงบประมาณ 2567 

      จเร วิชาไทย; Charay Vichathai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01-11)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุม “เปิดพื้นที่วิจัยระบบสุขภาพ สู่การนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์” และประกาศกรอบการวิจัยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ประจำปีงบประมาณ 2567 ในวันที่ 11 มกราคม 2566 เวลา 8.30–16.30 น. ณ โรงแรมอัศวิน ...
    • มิติเวลาเพื่อความเป็นธรรม ข้อสังเกตจากโควิด 19 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ปรากฏการณ์ที่โรคโควิด 19 สามารถเป็นได้กันทุกคนทั่วโลกเพราะไม่มีใครมีภูมิคุ้มกันมาก่อน ใครสัมผัสก่อน คนนั้นเป็นก่อน จนกระทั่งเป็นกันเกือบทุกคน โรคจึงสงบได้ มิติทางเวลา เช่น ใครติดโรคก่อนหรือเป็นทีหลัง ก็อาจทำให้ผลลัพธ์การ ...