Now showing items 1-20 of 47

    • HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 : ลดความเหลื่อมล้ำ เพิ่มความเป็นธรรม 3 กองทุนสุขภาพ 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-11)
      นำเสนอเนื้อหาที่เป็นประเด็น สำคัญระดับชาติที่ต้องได้รับการปฏิรูปเพื่อสร้างความเป็นธรรมให้เกิดแก่ ประชาชน นั่นคือ การจัดการระบบบริหารทั้ง 3 กองทุนสุขภาพ ประกอบด้วย กองทุนหลักประกัน สุขภาพแห่งชาติ กองทุนสวัสดิการรักษาพย ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับที่ 7 : สู่ความเป็นธรรม ระบบบริการสุขภาพคนพิการ 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-12)
      วารสาร HSRI Forum ฉบับนี้ ได้นำเสนอประเด็น ‘สู่ความ เป็นธรรม ระบบบริการสุขภาพ คนพิการ’ เป็นรายงานพิเศษ เพื่อนำเสนอให้เห็นว่าคนพิการใน สังคมไทยยังไม่ได้รับความเป็น ธรรมในเรื่องใดบ้าง โดยเฉพาะ ในด้านการเข้าถึงการบริ ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับพิเศษ : ทศวรรษที่ 2 สู่หลักประกันสุขภาพที่เป็นธรรมและยั่งยืน 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-05)
      HSRI Forum เป็นเสมือนพื้นที่แลกเปลี่ยนความรู้แบ่งปัน และถ่ายทอดข้อมูล ข่าวสาร ความ เคลื่อนไหว ผลงานวิจัย กิจกรรมหรือการดำเนินงาน ต่างๆ ของ สวรส. และเครือสถาบัน ตลอดจน สถานการณ์สำคัญที่มีผลกระทบต่อสุขภาวะของ สังคมไทยในขณะนั้น ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 2 ฉบับที่ 1: จัดการความรู้ สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม : พลังความรู้ สู่การเขยื้อนภูเขา 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-04)
      เรื่อง“ความเป็นธรรม” ในระบบสุขภาพเป็นประเด็นที่สังคมไทยสนใจ มานาน สวรส.ได้ทำงานสนับสนุนประเด็นนี้อย่างต่อเนื่อง ฉบับนี้นำเรื่อง ราวหลายด้านที่เกี่ยวข้องมานำเสนอ ในคอลัมน์ต้นกล้าความรู้สู่ต้นแบบ สุขภาพ นำต้นแบบแนวคิด ...
    • HSRI-FORUM ปีที่ 2 ฉบับที่ 2: 1 ปี รักษาฉุกเฉิน มาตรฐานเดียว 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-05)
      HSRI FORUM ฉบับนี้ มีสาระความรู้ในแวดวงระบบสุขภาพ มาฝากเช่นเคย โดยฉบับนี้ได้ถือเอาวาระครบรอบ 1 ปีของการประกาศนโยบาย “เจ็บป่วยฉุกเฉินถึงแก่ชีวิต ไม่ถามสิทธิ ใกล้ที่ไหน ไปที่นั่น” มาเป็นประเด็นของการนำเสนอนโยบายนี้นับเป็นก ...
    • กลไกการอภิบาลระบบหลักประกันสุขภาพเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ 

      เดือนเด่น นิคมบริรักษ์; Deunden Nikomborirak (มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2556-04-26)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ การวิจัยระบบสุขภาพประจำปี 2556 การจัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม วันที่ 25-26 เมษายน 2556 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
    • กลไกการใช้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ และด้านการเงินและบัญชี เพื่อการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าและระดับจังหวัด และประเมินระบบสุขภาพของจังหวัด 

      ศศิธร ธนะภพ; Sasithon Tanapop; อรทัย เขียวเจริญ; นิลวรรณ อยู่ภักดี; พารุณี ยิ้มสบาย; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย (สถาบันวิจัยระบบสาธาณสุข, 2549)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำฐานข้อมูลสุขภาพประชาชนรายบุคคลภายในจังหวัด เชื่อมโยงระหว่างความจำเป็นทางสุขภาพและการใช้บริการสุขภาพของประชากร รวมทั้งพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่ในด้านซื้อบริการสุขภาพที่ระดับจังหวัด ...
    • กลไกและมาตรการในการลดความเหลื่อมล้ำระหว่างระบบประกันสุขภาพ 

      คณิตสรณ์ สัมฤทธิ์เดชขจร; อาณัติ วรรณศรี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-04-25)
    • กลไกและมาตรการในการลดความเหลื่อมล้ำระหว่างระบบประกันสุขภาพ National (Information) Clearing House และ มาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพ 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin (ศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย, 2556-04-25)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ การวิจัยระบบสุขภาพประจำปี 2556 การจัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม วันที่ 25-26 เมษายน 2556 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
    • การขับเคลื่อนเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในระบบบริการสุขภาพ 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; ทัสนีย์ จันทร์น้อย; บุญชัย กิจสนาโยธิน; กฤติยา ศรีประเสริฐ; เทียม อังสาชน (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2556-04-25)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ การวิจัยระบบสุขภาพประจำปี 2556 การจัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม วันที่ 25-26 เมษายน 2556 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
    • การจัดระบบบริการด้านรังสีรักษากับความต้องการและการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคมะเร็งในประเทศไทยปีงบประมาณ 2545 

      ภูษิต ประคองสาย; Phusit Prakongsai; สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ศุภวาณี สำเภานนท์; Somsak Chunharas; Viroj Tangcharoensathien; Supawanee Sumpaonon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      ด้วยเหตุผลที่โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่มีความสำคัญเป็นลำดับต้นของประเทศ และในขณะที่งานรังสีรักษามีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการบำบัดรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งทั้งในระยะเริ่มต้นและระยะสุดท้าย แต่สภาพปัญหาในปัจจุบันพบว่า ...
    • การทบทวนนิยาม ความหมาย รูปแบบ และแนวคิดที่เกี่ยวกับการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ เด็ก ผู้หญิง และผู้สูงอายุ 

      อนรรฆ พิทักษ์ธานิน; มนทกานต์ ฉิมมามี; ปุณณฑรีย์ เจียวิริยบุญญา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556)
      รายงานการศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับการทบทวนนิยาม ความหมาย รูปแบบ และแนวคิด ที่เกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ เด็ก ผู้หญิง และผู้สูงอายุ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ หนึ่ง ทบทวนนิยาม มโนทัศน์ และแนวคิดทางสังคมที่อยู่เบื้องหลั ...
    • การวิจัยประเมินผลนโยบายสุขภาพที่เน้นผลกระทบความเป็นธรรมด้านสุขภาพ : ผลการทบทวนวรรณกรรมและศึกษาสถานการณ์ 

      ธีระ วรธนารัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-06)
      รายงานการวิจัยฉบับนี้เป็นการทบทวนวรรณกรรมและศึกษาสถานการณ์เกี่ยวกับการวิจัยประเมินผลนโยบายสุขภาพที่เน้นผลกระทบความเป็นธรรมด้านสุขภาพที่มาจากประสบการณ์ของประเทศไทย และจากต่างประเทศ โดยประกอบไปด้วยผลการศึกษากลไกระบบการติดต ...
    • การศึกษาทบทวนสถานการณ์ธรรมาภิบาลระบบสุขภาพ 

      มานวิภา อินทรทัต; อาจยุทธ เนติธนากูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ด้วยเป้าหมายหลักของการพัฒนาระบบสุขภาพไทย คือ การมีธรรมภิบาลในการจัดระบบสุขภาพให้สมดุลและยั่งยืน เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรงและมีสุขภาวะที่ดี ดังนั้นจึงต้องทราบถึงสถานการณ์ปัจจุบันของธรรมภิบาลระบบสุขภาพ จุดประสงค์ของงา ...
    • การเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ เด็ก ผู้หญิง และผู้สูงอายุ 

      อนรรฆ พิทักษ์ธานิน; มนทกานต์ ฉิมมามี; ปุณณฑรีย์ เจียวิริยบุญญา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-11)
      การศึกษาเบื้องต้นเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ เด็ก ผู้หญิง และผู้สูงอายุ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ หนึ่ง ทบทวนนิยาม มโนทัศน์ และแนวคิดทางสังคม ที่อยู่เบื้องหลังข้อตกลงระหว่างประเทศและกฎหมายของต่างประเทศรวมถึงประเทศ ...
    • ความเป็นธรรมของการใช้บริการสาธารณสุขในประเทศไทย 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; เรนเบอร์ก, คลาส; Rehnberg, Class (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อตรวจสอบว่า บริการสาธารณสุขของประเทศไทยกระจายตามความจำเป็นมากกว่าที่จะกระจายตามความสามารถในการจ่ายเงิน วัตถุประสงค์ของการ ศึกษาครั้งนี้มี 2 ประการ ได้แก่ 1. เพื่อวัดความเท่าเทียมกันขอ ...
    • ความเป็นธรรมของการใช้บริการสุขภาพ 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; กัญจนา ติษยาธิคม; ภูษิต ประคองสาย; วลัยพร พัชรนฤมล (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2548-11)
      เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า ช่องว่างทางเศรษฐกิจมีผลกระทบต่อความแตกต่างด้านสุขภาพระหว่างคนจนกับคนรวย ซึ่งเป็นไปตาม วัฏจักร “โง่-จน-เจ็บ” ถึงแม้ว่า ในยุคหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า คนไทยเกือบทุกคนจะได้สิทธิประโยชน์ในการเข้าถ ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพระดับครัวเรือน : การสำรวจครัวเรือนรอบที่ 2 และการตรวจร่างกายครั้งที่ 1 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; Direk Patamasiriwat; Sukalaya Kongsawatt (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าต้องการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยปัจจัยทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมไม่เป็นอุปสรรคกีดขวาง การศึกษาครั้งนี้เพื่อประเมินผลของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปี 2546 โดยการสำรว ...
    • ความเหลื่อมล้ำระหว่างระบบหลักประกันสุขภาพในประเทศไทย 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; พินทุสร เหมพิสุทธิ์ (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-04)
      ความเหลื่อมล้ำระหว่างระบบหลักประกันสุขภาพในประเทศไทยฉบับนี้ เป็นรายงานการสังเคราะห์สถานการณ์ของระบบประกันสุขภาพไทยในปัจจุบัน ที่มาจากรายงานผลการศึกษาต่างๆ และจากข้อมูลของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยมุ่งหวังจะช่วยสะท้อนก ...
    • ความเหลื่อมล้ำเชิงโครงสร้างในตลาดบริการสุขภาพ 

      นวลน้อย ตรีรัตน์ (คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556-04-25)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ การวิจัยระบบสุขภาพประจำปี 2556 การจัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม วันที่ 25-26 เมษายน 2556 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร