Browsing by Subject "คุณภาพชีวิต"
Now showing items 1-20 of 23
-
การทำความเข้าใจความต้องการใส่ฟันทดแทนของผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาด่านเกวียน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)การสูญเสียฟันอาจมีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตอย่างไม่ตรงไปตรงมานัก การสำรวจสุขภาพช่องปากแห่งชาติครั้งล่าสุดพบว่า ผู้สูงอายุที่ทันตแพทย์แนะนำให้ใส่ฟันทดแทน มีเพียงจำนวนครึ่งหนึ่งเท่านั้นที่มารับบริการใส่ฟัน แม้จะมีการสนับส ... -
การประยุกต์ใช้ระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพในการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานในสถานประกอบการ : กรณีศึกษาบริษัทแปซิฟิกแปรรูปสัตว์น้ำ จังหวัดสงขลา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)ผลจากการขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรมของในประเทศไทยที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้ความต้องการแรงงานในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในจังหวัดที่มีการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ซึ่งส่งผลต่อความต้องการจ้างแรงงานเพิ่มขึ้น จังหวัดสงขลาเป็ ... -
การประเมินผลคุณภาพการดูแลและผลลัพธ์ของผู้ป่วยโรคหืดที่เป็นผู้ใหญ่ในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการสร้างเครื่องมือเพื่อประเมินคุณภาพการดูแลรวมทั้งผลลัพธ์ในผู้ป่วยโรคหืดที่เป็นผู้ใหญ่ โดยทำการวิจจัยเป็น 3 ช่วง ช่วงที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อหาภาระโรคตลอดจนปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพการดูแ ... -
การพัฒนาระบบการจัดการบริการอาชีวอนามัยเพื่อคุณภาพชีวิตของบุคลากรโรงพยาบาล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)บุคลากรโรงพยาบาลต้องเผชิญสิ่งคุกคามสุขภาพที่แตกต่างกันไปตามลักษณะการทำงานและสภาพแวดล้อมในการทำงาน แต่การจัดบริการอาชีวอนามัยสำหรับบุคลากรในโรงพยาบาลภาครัฐของประเทศไทยอยู่ในระดับค่อนข้างต่ำ และในทางปฏิบัติพบว่ามีมาตรฐานแน ... -
การพัฒนารูปแบบการบริบาลและการรักษาพยาบาลผู้สูงอายุระดับปฐมภูมิในสังคมปกติวิถีใหม่: ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการปฏิรูประบบสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)การพัฒนารูปแบบการบริบาลและการรักษาพยาบาลผู้สูงอายุระดับปฐมภูมิในสังคมปกติวิถีใหม่ ถือเป็นความท้าทายของประเทศเพื่อเตรียมรองรับสังคมสูงอายุสุดขีด (Hyper-aged society) ในอีก 9 ปีข้างหน้า การออกแบบนวัตกรรมการบริบาลและการรักษ ... -
การพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยและขับเคลื่อนงานของครูข้างถนน ประสบการณ์เรื่องเล่าการทำงานภาคสนามของครูข้างถนน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)โครงการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพและอบรมองค์ความรู้ ทักษะแนวทางความคิดเพื่อการทำงานกับเด็กและเยาวชน เพื่อสังเคราะห์องค์ความรู้การทำงานของครูข้างถนนกับเด็กกลุ่มเปราะบาง รวมถึงการค้นหาและข้อจำกัดของระบบและผลั ... -
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการกำหนดนโยบายสาธารณะเกี่ยวกับคุณภาพชีวิต : กรณีศึกษาการร่างรัฐธรรมนูญในระดับจังหวัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544) -
การศึกษาเชิงนโยบายใน 10 ปีข้างหน้าต่อการเข้าถึงการบริการสุขภาพของผู้สูงอายุ จังหวัดปทุมธานี ในสถานการณ์ระบาดของโควิด-19 ระลอก 5
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ส่งผลกับการให้บริการของสถานพยาบาลทุกระดับ มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบในการบริการ ผู้สูงอายุมีการรับรู้ที่จำกัดเกี่ยวกับระบบริการสุขภาพ และเมื่อเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-10)ภูมิหลัง: อำเภอเป็นจุดยุทธศาสตร์สำคัญในการพัฒนาระบบสุขภาพตามแนวคิดพื้นที่เป็นฐาน ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งสอดคล้องกับหลักการของการสาธารณสุขมูลฐาน (Primary Health Care: PHC) ตามปฏิญญาอัลมา อะต้า ค.ศ. 1978 และปฏิญญาอัสตานา ... -
การเปลี่ยนแปลงคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุไทยในช่วงการระบาดของโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ในปัจจุบันที่ประชากรทั่วโลกต้องเผชิญ การประกาศมาตรการที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตในวิถีชีวิตใหม่ อาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อติดตามกา ... -
ข้อเสนอเชิงนโยบายสาธารณะ กองทุนระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care : LTC)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-08)สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศไทยที่เข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุแบบก้าวกระโดด ส่งผลให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังและการประสบภาวะทุพพลภาพเพิ่มสูงขึ้นและความต้องการการดูแลยิ่งทวีเพิ่มสูงขึ้นตาม ... -
ความยินดีจ่ายสำหรับบริการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อวิเคราะห์มูลค่าความยินดีจ่ายสำหรับบริการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความยินดีจ่าย กลุ่มตัวอย่างของการศึกษา คือ ประชากรอายุ 18 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ในตำบลสะอา ... -
คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีและไม่มีภาวะแทรกซ้อนและแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558)โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรังที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี ซึ่งโรคนี้ก่อให้เกิดอาการที่ไม่พึงประสงค์และภาวะแทรกซ้อนที่อวัยวะสำคัญที่ผู้ป่วยต้องจัดการ ซึ่งทำให้มีผลกระทบต่อระดับคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย วัตถุประ ... -
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในเขตศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลเขาไร่ อำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)การวิจัยเชิงพรรณนาโดยการสำรวจศึกษาพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ รวมทั้งหาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ในเขตตำบลเขวาไร่ อำเภอนาเชือก จังหวัดมหาสารคาม ในช่วงเดือ ... -
รายงานผลการสำรวจปัญหาสังคมและสาธารณสุขคนงานก่อสร้างในประเทศไทย พ.ศ.2538
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)รายงานผลการสำรวจปัญหาสังคมและสาธารณสุขของคนงานก่อสร้างในประเทศไทย พ.ศ. 2538 การสำรวจแบบตัดขวางในเขตพื้นที่เมืองใหญ่ ๆ ของประเทศ อันได้แก่ กรุงเทพมหานคร ภาคเหนือที่จังหวัดเชียงใหม่และพิษณุโลก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่จังหว ... -
รูปแบบการพัฒนานโยบายสาธารณะกองทุนดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนอีสาน ภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-04)การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนานโยบายสาธารณะด้านสุขภาพ (Participation Health Public Policy) กองทุนระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนอีสาน ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสำรวจ การสังเกต การสัมภาษณ์เจาะลึก การสนทนากลุ่ม ... -
วิธีวัดคุณภาพชีวิต สำหรับผู้ป่วยต้อกระจกในภูมิภาค
(สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545) -
สถานการณ์ของคนบนถนนในเมืองใหญ่ และกรุงเทพมหานคร
(สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2556-08-07)เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการวิชาการสังคมและสุขภาพ ประจำปี 2556 เรื่อง แนวรบสุขภาพ: พรมแดนวัฒนธรรมกับการรุกของทุน (Frontiers of Health: Cultural Borders and the Dominance of Capital) หัวข้อย่อย เข้าใจคนขาด-ขาดคนเข้าใจ ... -
สถานะสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชากรวัยแรงงานไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)ประชากรวัยแรงงานเป็นกลุ่มประชากรหลักในการสร้างผลผลิต และต้องดูแลกลุ่มประชากรวัยอื่น ๆ ของประเทศ ดังนั้นสถานะสุขภาพของประชากรวัยแรงงานสามารถบ่งบอกถึงสภาวะสุขภาพของประชากรไทยรวมทั้งประเทศ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ ... -
สุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่รอบเขตอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาพรรณนาภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสุขภาพ ระดับคุณภาพชีวิต และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชนกลุ่มตัวอย่าง 943 คน ที่อาศัยอยู่รอบเขตประกอบการอุตสาหกรรมปิโตรเคมีแ ...