Now showing items 1-5 of 5

    • การจัดทำชุดตัวชี้วัดสุขภาพแห่งชาติ 

      พิมลพรรณ อิศรภักดี; อุไรวรรณ คนึงสุขเกษม; รศรินทร์ เกรย์; พอตา บุญยตีรณะ (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2553)
      รายงานการจัดทำชุดตัวชี้วัดสุขภาพแห่งชาติ (National Health Indicators) มีเป้าหมายการดำเนินงานเพื่อพัฒนาชุดตัวชี้วัดสุขภาพแห่งชาติที่เป็นมาตรฐานและพัฒนาเครือข่ายที่เป็นกลไกผลักดันดัชนีสุขภาพแห่งชาติสู่การไปใช้ในระดับนโยบาย ...
    • การประเมินสมรรถนะระบบสุขภาพของประเทศไทย ปี พ.ศ. 2565-2566 

      พงศธร พอกเพิ่มดี; Pongsadhorn Pokpermdee; กฤติยา สุขพัฒนากุล; Krittiya Sukpatthanakul; โศรดากรณ์ พิมลา; Soradakorn Phimla; วันวิสา เพ็ญสุริยะ; Wanwisa Pensuriya; นาฎอนงค์ เจริญสันติสุข; Nardanong Charoensuntisuk; ปุณณิภา คงสืบ; Punnipa Kongsueb; ศศิภา จันทรา; Sasipa Chantra; ณัฐนรี ขิงจัตุรัส; Natnaree Khingchatturat; อิสริยาภรณ์ คันธา; Isariyaporn Kanta; อรจิรา หนูทองอินทร์; Onjira Nuthong-In; ณิชาธร กาญจนโยธิน; Nichatorn Karnchanayothin; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-09)
      ภูมิหลังและเหตุผล: การประเมินสมรรถนะระบบสุขภาพของประเทศไทยปี พ.ศ. 2565–2566 เทียบกับต่างประเทศในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ผลลัพธ์ด้านสุขภาพของประเทศไทยเทียบกับกลุ่มประเทศ OECD (Organisation for Economic Co-operation ...
    • การพัฒนาชุดตัวชี้วัดระบบสุขภาพเพื่อติดตาม ประเมินผล และจัดทำรายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพไทย ตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เรื่อง ระบบสุขภาพชุมชนเมือง 

      ณัฐวุฒิ เอี่ยงธนรัตน์; Natthawut Iangtanarat; ภรัณยู โอสถธนากร; Pharanyoo Osotthanakorn; พีรสิชฌ์ สิทธิรัตน์; Peerasit Sitthirat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2568-03)
      ที่มาและความสำคัญ: การขยายตัวของความเป็นเมืองในประเทศไทยก่อให้เกิดความท้าทายใหม่ในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน โดยเฉพาะในประเด็นสุขภาวะเขตเมืองที่ซับซ้อนและแตกต่างจากบริบทชนบท ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 3 พ.ศ. ...
    • การสังเคราะห์การจัดทำข้อมูลและพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพแห่งชาติ 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล; Pinij Faramnuayphol (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2555-12)
      การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพแห่งชาติ เป็นความพยายามในการสร้างกรอบของการติดตามระบบสุขภาพในระดับมหภาค ซึ่งประกอบไปด้วยองค์ประกอบ และปฏิสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพกับสภาวะสุขภาพ ซึ่งเป็นผลลัพธ์สุดท้ายของระบบสุขภาพ ...
    • สุขภาพคนไทย 2551 

      ชื่นฤทัย กาญจนะจิตรา; ชาย โพธิสิตา; กฤตยา อาชวนิจกุล; อุมาภรณ์ ภัทรวาณิชย์; กุลวีณ์ ศิริรัตน์มงคล; ปาณฉัตร เสียงดัง; สุภรต์ จรัสสิทธิ์; Churnrurtai Kanchanachitra; Chai Podhisita; Kritaya Archavanitkul; Umaporn Pattaravanich; Kullawee Siriratmongkon; Pannachat Seangdung; Suporn Jarassit (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดลสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2551)
      รายงานสุขภาพคนไทย 2551 หรือเป็นเล่มที่ 5 ที่ได้รายงานต่อสาธารณะ ในบทความเล่มนี้ได้พูดถึงภาวะโลกร้อนที่จะช่วยสร้างพลังผลักดันให้คนในสังคมไทยได้เกิดความตระหนักถึงปัญหา และการลงมือปฏิบัติอย่างจริงจังอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนการหาคำตอบ ...