Now showing items 1-3 of 3

    • การประมาณต้นทุนการเจ็บป่วยโรคโควิด-19 สถาบันบำราศนราดูร ประเทศไทย 

      ชุมแพ สมบูรณ์; Chumphae Somboon; มธุรส ทิพยมงคลกุล; Mathuros Tipayamongkholgul; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; Chanida Lertpitakpong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบต้นทุนทางตรงทางการแพทย์ของโควิด-19 ตามระดับความรุนแรงของโรคและโรคประจำตัว ในมุมมองของผู้ให้บริการ (provider perspective) วิเคราะห์ต้นทุนด้วยวิธีจากล่างขึ้นบน (bottom-up approach) ...
    • การศึกษาต้นทุนผลกระทบทางสังคม สุขภาพ และเศรษฐกิจของการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทย 

      มนทรัตม์ ถาวรเจริญทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; จอมขวัญ โยธาสมุทร; กรรณิการ์ ฐิติบุญสุวรรณ; ประพักตร์ เนรมิตพิทักษ์กุล (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2551-10)
      การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินต้นทุนทางเศรษฐกิจจากการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประเทศไทยในปี พ.ศ. 2549 โดยใช้กรอบแนวคิดของการศึกษาต้นทุนของความเจ็บป่วย (cost of illness study) ทำการวิเคราะห์ต้นทุนโดยใช้วิธีความชุก ...
    • ต้นทุนโรคหืดของโรงพยาบาลพรานกระต่าย 

      บัลลังก์ อุปพงษ์; Ballang Uppapong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      โรคหืดถูกจัดอยู่ในกลุ่มภาวะไวการรักษาแบบผู้ป่วยนอก (Ambulatory care sensitive condition; ACSC) คือหากมีการดูแลรักษาแบบผู้ป่วยนอกอย่างมีประสิทธิภาพจะสามารถหลีกเลี่ยงการเข้ารับรักษาตัวในโรงพยาบาลได้ การที่ผู้ป่วยโรคหืดต้อง ...