Now showing items 1-20 of 38

    • Health Systems Research Institute Thailand 2008-2010 

      Health Systems Research Institute (Health System Research Institute, 2008)
    • R2R กับนโยบายวิจัยสาธารณสุขเพื่อ Thailand 4.0 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      เอกสารนำเสนอในการประชุมวิชาการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย ประจำปี 2561 ภายใต้หัวข้อ "R2R To Future Health Care" วันที่ 13 กันยายน 2561 ณ โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่
    • SI Health Policy Unit (SiHP) 

      ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit (หน่วยวิจัยเพื่อขับเคลื่อนนโยบายสุขภาพ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล, 2558-12-15)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเครือข่ายการวิจัยระบบสุขภาพ หัวข้อ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ของหน่วยงานวิจัยเชิงระบบและนโยบายสุขภาพ วันที่ 15 ธันวาคม 2558 เวลา 10.00-12.00 น. ณ ห้องกินรี2 โรงแรมอมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุงเทพฯ
    • กลไกเชื่อมโยงองค์ความรู้สู่นโยบายด้านสุขภาพและการค้าระหว่างประเทศ: กรณีศึกษาคณะกรรมการสนับสนุนการศึกษาและติดตามการเจรจาการค้าระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและนโยบายสุขภาพ (คจคส.) 

      วีระ หวังสัจจะโชค; Weera Wongsatjachock; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ชินวัฒน์ หรยางกูร; Shinawat Horayangkura; นพพล ผลอำนวย; Noppon Phon-amnuai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      บทความวิจัยฉบับนี้มุ่งศึกษาการทำงานของคณะกรรมการสนับสนุนการศึกษาและติดตามการเจรจาการค้าระหว่างประเทศที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและนโยบายสุขภาพ (คจคส.) ในฐานะกลไกเชื่อมโยงองค์ความรู้สู่นโยบาย เพื่อวิเคราะห์การดำเนินการและพิจารณ ...
    • การกำหนดหัวข้อวิจัยระบบสุขภาพไทยแบบมีส่วนร่วม 

      ทรงยศ พิลาสันต์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Songyot Pilasant; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-09)
      งานวิจัยด้านนโยบายและระบบสุขภาพเป็นสิ่งจำเป็นในการสร้างเสริมความเข้มแข็งของระบบสุขภาพ การจัดลำดับความสำคัญของหัวข้อวิจัยด้านสุขภาพจึงมีความสำคัญในการจัดสรรงบประมาณด้านการวิจัยที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เป็นไปอย่างคุ้มค่า ...
    • การจัดทำชุดตัวชี้วัดสุขภาพแห่งชาติ 

      พิมลพรรณ อิศรภักดี; อุไรวรรณ คนึงสุขเกษม; รศรินทร์ เกรย์; พอตา บุญยตีรณะ (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2553)
      รายงานการจัดทำชุดตัวชี้วัดสุขภาพแห่งชาติ (National Health Indicators) มีเป้าหมายการดำเนินงานเพื่อพัฒนาชุดตัวชี้วัดสุขภาพแห่งชาติที่เป็นมาตรฐานและพัฒนาเครือข่ายที่เป็นกลไกผลักดันดัชนีสุขภาพแห่งชาติสู่การไปใช้ในระดับนโยบาย ...
    • การทบทวนบทเรียนจากต่างประเทศเพื่อเป็นองค์ความรู้ในการกำหนดกระบวนการจัดทำธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ 

      ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; Siriwan Pitayarangsarit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      การศึกษานี้เป็นการทบทวนเอกสารเพื่อถอดบทเรียนจากประเทศบราซิล สหรัฐอเมริกา และอังกฤษ ที่เกี่ยวกับการจัดทำแนวนโยบายและยุทธ์ศาสตร์เพื่อการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ วิวัฒนาการและบริบท กระบวนการขับเคลื่อนระบบสุขภาพ และการประเมินผลการปฏิรูป ...
    • การบริหารจัดการการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพในต่างประเทศ 

      จอมขวัญ โยธาสมุทร; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2551-04)
      วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษากระบวนการบริหารจัดการที่ดำเนินการอยู่ในหน่วยงานที่ทำหน้าที่ประเมินเทคโนโลยีและนโยบายสุขภาพในประเทศต่างๆ วิธีศึกษา รวบรวมเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ผ่านระบบสืบค้น Medline, Google Scholar ตลอดจนเว็บไซต์ที ...
    • การประเมินพันธกิจสำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ 

      สันติชัย อินทรอ่อน; Santichi Intaraoon; จริยา บุณยะประภัศร; สุขยืน เทพทอง; Suriya Bunyaphaphason; Sukyuen Tapthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การวิจัยเรื่อง การประเมินพันธกิจสำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ มีวัตถุประสงค์การวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการผลักดัน (ร่าง) พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ และ 2) เพื่อการวางแผนในการจัดทำยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อน ...
    • การประเมินสถานการณ์ด้านนโยบายการป้องกันและควบคุมโรคเพื่อจัดตั้งศูนย์ควบคุมโรคติดต่อประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 

      วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; Li Yang, Hsu; Howard, Natasha; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; Dabak, Saudamini; Ananthakrishnan, Aparna; เบญจรินทร์ สันตติวงศ์ไชย; Benjarin Santatiwongchai; มานิต สิทธิมาตร; Manit Sittimart (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)
      งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาทางวิชาการ มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างคำแนะนำเกี่ยวกับการดำเนินงาน (Operationalisation) ขององค์กรทางด้านสุขภาพในระดับภูมิภาค ซึ่งรวมไปถึงภูมิภาคอาเซียนด้วย ความคิดริเริ่มนี้เป็นความพยายามที่จะช่วยสนับส ...
    • การพัฒนากรอบยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขเพื่อตอบสนองต่อการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประเทศไทย 

      วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; กานต์พีชญา เนตรพิสิทธิ์กุล; Kanpechaya Netpisitkul; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; มธุดารา ไพยารมณ์; Mathudara Phaiyarom; ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; สุณิชา ชานวาทิก; Sunicha Chanvatik; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; เบญจรินทร์ สันตติวงศ์ไชย; Benjarin Santatiwongchai; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; อรทัย วลีวงศ์; Orratai Waleewong; ณัฐดนัย รัชตะนาวิน; Nattadhanai Rajatanavin; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; รักษพล สนิทยา; Rugsapon Sanitya; อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; ณัฎฐณิชา แปงการิยา; Nattanicha Pangkariya; รัชพร คงประเสริฐ; Ratchaporn Kongprasert; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Rueangsom; กมลวรรณ เขียวนิล; Kamonwan Kiewnin; หทัยชนก สุมาลี; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019, COVID-19 หรือ โควิด-19) นับเป็น "การระบาดใหญ่" (pandemic) หลังจากพบผู้ติดเชื้อทั่วโลก ปัจจุบัน (กันยายน 2563) มีผู้ติดเชื้อทั่วโลกมากกว่า 30 ล้านราย ...
    • การพัฒนาตัวชี้วัดระบบสุขภาพในมุมมองของประชาชน 

      อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; จอมขวัญ โยธาสมุทร; Jomkwan Yothasamut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
    • การพัฒนายุทธศาสตร์ระบบการวิจัยคลินิกของประเทศไทย 

      วิพุธ พูลเจริญ; Wiput Phoolcharoen; สรกนก วิมลมั่งคั่ง; Sornkanok Vimolmangkang; วิโรจน์ เจียมจรัสรังษี; Wiroj Jiamjarasrangsi; เพ็ญจันทร์ เชอร์เรอร์; Penchan Sherer; วิวัฒน์ พีรพัฒนโภคิน; Wiwat Peerapatanapokin; ธนาคม วงษ์บุญธรรม; Thanakom Wongboontham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      การปรับรื้อสร้าง (Transformation) ระบบและโครงสร้างทางสุขภาพให้สนองตอบต่อนโยบายแผนงานและยุทธศาสตร์ระยะยาว (20 ปี) ของประเทศไทยตามกระแสโลกปัจจุบัน โดยเฉพาะนโยบายนวัตกรรมระบบสุขภาพให้ก้าวเท่าทันกับวิวัฒนาการทางวิทยาศาสตร์เท ...
    • การสังเคราะห์การจัดทำข้อมูลและพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพแห่งชาติ 

      พินิจ ฟ้าอำนวยผล; Pinij Faramnuayphol (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2555-12)
      การพัฒนาตัวชี้วัดสุขภาพแห่งชาติ เป็นความพยายามในการสร้างกรอบของการติดตามระบบสุขภาพในระดับมหภาค ซึ่งประกอบไปด้วยองค์ประกอบ และปฏิสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพกับสภาวะสุขภาพ ซึ่งเป็นผลลัพธ์สุดท้ายของระบบสุขภาพ ...
    • การสังเคราะห์มาตรการและนโยบายของรัฐบาลเพื่อลดการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 จากผลการประเมินการปฏิบัติตนของประชาชนไทยต่อมาตรการต่างๆ 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangchroensathien; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumon; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol; วันวิสาห์ แก้วขันแข็ง; Wanwisa Kaewkhankhaeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-08)
      การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 ส่งผลให้รัฐบาลไทยประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม - 30 เมษายน พ.ศ. 2563 และรณรงค์มาตรการ “อยู่บ้าน หยุดเชื้อ เพื่อชาติ” ...
    • การส่งเสริมการเดินและใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน: กรณีศึกษา 4 ชุมชนในประเทศไทย 

      ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; อัจจิมา มีพริ้ง; Atjima Meepring (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      การเดินและการใช้จักรยานเป็นกิจกรรมทางกายรูปแบบหนึ่งที่ประชาชนสามารถทำได้อย่างสม่ำเสมอในชีวิตประจำวัน ซึ่งส่งผลดีต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อมและเศรษฐกิจ การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินกระบวนการดำเนินงานส่งเสริมการเดิน ...
    • การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ (Strategic Route Map)ในการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในระดับจังหวัด 

      มูลนิธิแสงสิทธิการ (เพื่อคุณภาพชีวิต) (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-12)
      กิจกรรมหลักตามโครงการส่งเสริมฯ ที่ได้ดำเนินการและประสบผลสำเร็จเป็นอย่างดี คือ การเสริมสร้างทักษะบุคลากร ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์(Strategic Route Map:SRM) ทั้ง 7 ขั้นตอน มาปรับประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหาร ...
    • การเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางด้านการจัดการกับการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ในโครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า : กรณีศึกษา จังหวัดในเขต 6 

      เกรียงศักดิ์ เอกพงษ์; Kriengsak Ekapong; ปรีดา โนวฤทธิ์; วรางคณา อินทโลหิต; พิทยา ศรีกุลวงศ์; วรรณวดี ศิริจันทร์; วิไลวรรณ เทียมประชา; Preda Nowrith; Warangkana Inthalohith; Pithapya Srikulwong; Wanwadee Sirrijan; Wilanwan Taimpracha (Health Systems Research Institute, 2546)
      การวิจัยแบบภาคตัดขวางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการเปลี่ยนแปลงปัจจัยทางด้านการจัดการ ได้แก่ การจัดการงบประมาณ บุคลากร วัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์ เวชภัณฑ์ และด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพ ...
    • ข้อเสนอการคลังสุขภาพเพื่อความยั่งยืนของระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; Suwit Wibulpolprasert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-10-10)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติด้านหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย (ครั้งที่ 2) : ยั่งยืนด้วยคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความเป็นธรรม และการประชุมชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560 วันที่ 10 ...
    • ข้อเสนอบทบาทและโครงสร้างหน่วยงานกระทรวงสาธารณสุขในการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์สุขภาพของประเทศ 

      ศุภกิจ ศิริลักษณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554)
      ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในระดับโลก ภูมิภาค และประเทศ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและสถานะสุขภาพของคน ทำให้การกำหนดนโยบายสาธารณะที่มีผลกระทบต่อสุขภาพและนโยบายด้านสุขภาพเอง จำเป็นต้องปรับตัวให้สอดคล้องเ ...