Now showing items 1-20 of 227

    • Media no limit : สื่อสร้างได้ไม่จำกัดความแตกต่าง 

      นริศรา สายสงวนสัตย์; ณัฐภรณ์ เหลืองพิพัฒน์; ปณัสย์ พุ่มริ้ว; กรวิกา วีระพันธ์เทพา (สถาบันสร้างเสริมสุขภาพคนพิการ (สสพ.), 2556-09)
      ‘สื่อ’ คำสั้นๆ แต่แฝงไปด้วยพลังและอำนาจมากมาย เพราะนอกจากจะเป็นสะพานแห่งความเข้าใจของบุคคลแล้ว สื่อยังเป็นตัวกำหนดทิศทางของสังคมให้ไปทางไหนก็ได้อีกด้วย แต่ในโลกทุกวันนี้ กลับยังมีบุคคลอีกมากที่ไม่สามารถเข้าถึงสื่อได้ ...
    • You can do it : designed by disability 

      ภัทรีพันธ์ พงศ์วัชร์; เบญจางค์ สุขจำนงค์; นริศา ปิ่นวาสี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2558-12)
      งานสร้างเสริมสุขภาพประชาชน ไม่ได้เป็นการทำงานด้านสาธารณสุขอย่างเดียวเท่านั้นแต่ยังมีอีกหลากหลายมิติที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ล้วนแล้วแต่มีความเกี่ยวข้องและเป็นป ...
    • กฏหมายความปลอดภัยทางชีวภาพ 

      เจษฎ์ โทณะวณิก; Chat Tonawanik (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่มีความก้าวหน้ามากในปัจจุบันนี้ ไม่ว่าจะในทางการแพทย์ การเกษตร หรือแม้กระทั่งด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีที่ว่านี้ได้ถูกนำมาสร้างสรรค์นวัตกรรมขึ้นมากมาย เช่น สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมในรูปแบบต่างๆ ...
    • กระบวนการยุติธรรมสิ่งแวดล้อมสุขภาพบทเรียนจากคดีมาบตาพุด 

      คนึงนิจ ศรีบัวเอี่ยม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-12)
      กรณีมาบตาพุดอาจกล่าวได้ว่า เป็นภาพสะท้อนการดำเนินนโยบายการพัฒนาประเทศที่ไม่ได้คำนึงถึงหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน แต่เป็นการพัฒนาที่มุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรอย่างเข้มข้นจนเลยขีดความสามารถที่สิ่งแวดล้อมจะเยียวยาและจัดการโดยตัวมันเองได้ ...
    • กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของพหุภาคีในการร่วมปฏิบัติการเพื่อลดการใช้สารเคมีควบคุมศัตรูพืชในจังหวัดพิจิตร 

      สุรเดช เดชคุ้มวงศ์; Suradej Dejkumwongse; สมนึก แจ่มจำรัส; สุนทร ตุตะพะ; จารุภา เหลาหพจนารถ; สุนีย์ สุขสว่าง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของพหุภาคีในการร่วมปฏิบัติการเพื่อลดการใช้สารเคมีในการควบคุมศัตรูพืชในจังหวัดพิจิตร การศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการวิเคราะห์สถานการณ์ เงื่อนไข ปัจจัยและกระบวนการเชิงระบบ ...
    • กระบวนทัศน์สุขภาพและนิเวศวิทยาแนวลึก 

      ณัฐฬส วังวิญญู; Natlos Wangwinyu (สถาบันขวัญเมือง, 2546)
      ในช่วงระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา กระแสความคิดกระบวนทัศน์ใหม่ดูเหมือนจะได้รับการกล่าวถึงมากขึ้นเรื่อยๆ ในสังคม โดยเฉพาะในแวดวงนักวิชาการ และในขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมในส่วนต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ...
    • กระบวนทัศน์อิสลามเพื่อการพัฒนา 

      ซาการียา บิณยูซูฟ; คอยรูซามัน มะ; อับดุลเลาะห์ สารีมิง; อับดุลรอเซะ กาเดร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2550)
      ส่วนหนึ่งของปัญหาในจังหวัดสามชายแดนภาคใต้นั่นคือ ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ชุดบทเรียนเล่มนี้เป็นคำตอบของความรู้ส่วนหนึ่งในการแก้ปัญหา โดยใช้หลักคิด การพัฒนาโดยเอาวัฒนธรรมเป็นตัวตั้ง และกระบวนทัศน์อิสลามเพื่อการพัฒนา ...
    • กลุ่มเปราะบางกับความเหลื่อมล้ำในสถานการณ์โควิด 

      ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sri-ngernyuang; ปกรณ์ สิงห์สุริยา; Pagorn Singsuriya; ปิยณัฐ ประถมวงษ์; Piyanat Prathomwong; ชุติมา พัฒนพงศ์; Chutima Pattanapong; วาศินี กลิ่นสมเชื้อ; Vasinee Klinsomchua; สายสุดา วงษ์จินดา; Saisuda Vongjinda (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      งานเสวนาออนไลน์ “กลุ่มเปราะบาง” กับความเหลื่อมล้ำในสถานการณ์โควิด ซึ่งเป็นที่มาของเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ และเป็นส่วนหนึ่งของแผนดำเนินงานวิจัยภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจัยและขับเคลื่อนนโยบายสังคมไม่ทอดทิ้ง (Research ...
    • กลไกทางกฏหมายและกลไกทางนโยบายเพื่อสนับสนุนการลดการใช้สารเคมีการเกษตร 

      จุฑามาศ ต๊ะก่า; Jutamart Taka (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      แม้ว่านโยบายและกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสารกําจัดศัตรูพืชจะมีการพัฒนามากขึ้นเป็นลําดับ แต่พฤติกรรมของผู้ประกอบการในอันที่จะหลีกเลี่ยงการปฎิบัติตามกฎหมายก็มีส่วนสําคัญต่อการใช้สารกําจัดศัตรูพืชในประเทศไทยเป็นอย่างมากเช่นกัน ...
    • กองทุนและการจัดการสวัสดิการสุขภาพชุมชน : บทเรียนและทางเลือก 

      วัฒนา สุกัณศีล; Wattana Sukunsin (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      งานวิจัยนี้ศึกษารูปแบบ พัฒนาการและการบริหารจัดการของกองทุนและการจัดการด้านสุขภาพของชุมชน รวมทั้งวิเคราะห์ถึงเงื่อนไขและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการสุขภาพของชุมชนในประเด็นสำคัญๆ หลายอย่างคือ พัฒนาการและการปรับเปล ...
    • การกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในกลุ่มเกษตรกรจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูน 

      ทิพวรรณ ประภามณฑล; Thiphawan Phaphamonthon; พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช; อัมพิกา มังคละพฤกษ์; สมศรี ปัทมพันธุ์; อำนาจ มีเวที; Pongtap Vivantanadej; Amphika Mangkalaprik; Somsri Phatamaphan; Amnat Meevattee (สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2547)
      การกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในกลุ่มเกษตรกรจากการใช้สารเคมีทางการเกษตรในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลำพูน มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการวิจัยให้ได้ข้อมูลนำไปกำหนดขอบเขตการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพในกลุ่มเกษตรกรที่ใช้ส ...
    • การกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ จากโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก : กรณีศึกษาการพัฒนาพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดและพื้นที่ใกล้เคียง 

      เดชรัต สุขกำเนิด; Decharut Sukkumnoed; รุ่งทิพย์ สุขกำเนิด; จตุพร เทียรมา; สมพล โชคดีศรีสวัสดิ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดขอบเขตและแนวทางในการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งตะวันออก ในแง่ของสิ่งแวดล้อมเชิงกายภาพ การพัฒนาอุตสาหกรรม และโครงสร้างพื้นฐานในบริเวณนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด ...
    • การกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพของสารเคมีกำจัดศัตรูและสารเอ็นโดซัลแฟนในนาข้าว 

      Khawkhan Foundation; มูลนิธิข้าวขวัญ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การกําหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพของสารเคมีกําจัดศัตรูพืชและสารเอ็นโดซัลแฟนในนาข้าว เกิดจากการพบเห็นปัญหาด้านสุขภาพ สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจของเกษตรกร ในการใช้สารเคมีและสารเอ็นโดซัลแฟนในนาข้าว จึงเริ่มศึก ...
    • การกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการทำพืชเศรษฐกิจขนาดใหญ่ในลุ่มน้ำฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 

      มูลนิธิพัฒนาศักยภาพชุมชน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      นับตั้งแต่ พ.ศ. 2538 เป็นต้นมาเกิดการขยายพื้นที่การผลิตส้มเป็นอย่างมากทั่วทุกภาคของประเทศ รวมถึงในพื้นที่ลุ่มน้ำฝางอันประกอบด้วยพื้นที่ในเขตอําเภอฝาง อําเภอแม่อาย และอําเภอไชยปราการ จ.เชียงใหม่ จากการขยายพื้นที่ปลูกส้มเพ ...
    • การกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากการแยก ล้าง คัดเลือกแร่ทองคำ จากเขาพนมพา อำเภอวังทรายพูน จังหวัดพิจิตร 

      อาวีระ ภัคมาตร์; Aweera Pakamat; สมเดช เวชวิฐาน; รัตนา สนั่นเมือง; วิสาข์ สุพรรณไพบูลย์; วัชรินทร์ เวชวิริยะกุล; Somdet Wetwithan; Ratana Sananmueang; Wisa Supanpaiboon; Watcharin Wetwiriyakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      " เขาพนมพา" ตั้งอยู่บริเวณบ้านเขาพนมพา หมู่ที่ 7 ต.หนองพระ อ.วังทรายพูน จ.พิจิตร เป็นเนินเขาขนาดเล็ก มีความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง 50-155 เมตรครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 200 ไร่ เป็นป่าเบญจพรรณและป่าเศรษฐกิจ มีบ้านเรือน ...
    • การกำหนดขอบเขตและแนวทางการประเมินผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ 

      ชัชวาลย์ จันทรวิจิตร; Chatchavan Janvijit; ยุวยงค์ จันทรวิจิตร; ศิวพร อึ้งวัฒนา; นงเยาว์ อุดมวงศ์; จิตนธี เขนย; นุชยงค์ เยาวพานนท์; มลวิภา ศิริโหราชัย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดขอบเขตและแนวทางการศึกษาผลกระทบทางสุขภาพจากโครงการพัฒนาเหมืองถ่านหินเวียงแหง จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของประชาชนและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เป็นการนำผลการศึกษ ...
    • การขยายผลการพัฒนาระบบสร้างเสริมความปลอดภัยรถรับส่งนักเรียนในเขตชนบท จังหวัดเชียงราย 

      งามนิตย์ ราชกิจ; Ngamnith Ratchakit; จรินทร์ อินทร์สุวรรณโณ; ชาญชัย กีฬาแปง; ชลลดา สายสืบ (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย, 2547)
      การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อขยายเครือข่ายการดำเนินงานสร้างเสริมความปลอดภัยในรถรับส่งนักเรียน ในเขตชนบทของจังหวัดเชียงราย พื้นที่ 4 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเทิน อำเภอพาน ...
    • การคัดเลือกชุดทดสอบสารหนูภาคสนามสำหรับใช้งานในเขตอำเภอร่อนพิบูลย์ 

      อุไรวรรณ หมัดอ่าดัม; Uraiwan Madardam; วิไลวรรณ พุทธพฤกษ์; ประสิทธิ์ คงทอง; Wilaiwan putttapruk; Prasit Kongthong; โรงพยาบาลร่อนพิบูลย์; Ronpibun Hospital (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      ปัญหาที่สําคัญของงานสาธารณสุขในปัจจุบันของอำเภอร่อนพิบูลย์ คือ การขาดข้อมูลที่ชี้ให้เห็นถึงการปนเปื้อนของสารหนูหลังจากที่ได้พบการปนเปื้อนสารหนูในน้ำบ่อตื้นในอ.ร่อนพิบูลย์ ตั้งแต่ปีพ.ศ.2529 เป็นต้นมา ได้มีความพยายามในหลายๆ ...
    • การจัดการนโยบายสาธารณะและปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพของเทศบาลสามระดับในประเทศไทย 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ธีรพงษ์ คำพุฒ; Teerapong Khamput; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; หทัยรัตน์ โกษียาภรณ์; Hathairat Kosiyaporn; อานนท์ กุลธรรมานุสรณ์; Anond Kulthanmanusorn; จิราภรณ์ กมลรังสรรค์; Jirapron Kamonrungsan; กิตติพงษ์ ภัสสร; Kittipong Patsorn; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-09)
      การจัดการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพเป็นการส่งเสริมสุขภาพประชาชนที่ต้นน้ำ โครงสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนเอื้อต่อการจัดการปัจจัยทางสังคม ด้วยการกำหนดรูปแบบการจัดการสุขภาพที่เหมาะสมกับประชาชนในพื้นที่ การศึกษานี้มีว ...
    • การจัดการระบบผลิตน้ำดื่มเพื่อลดปัญหาการปนเปื้อนสารหนูด้วยเทคโนโลยีเมมเบรน 

      พิกุล วณิชาภิชาติ; Phikul Wanichaphichat; พรทิพย์ ศรีแดง; อภิรดี แซ่ลิ่ม; โชโกะ โอชิกาว่า (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      งานวิจัยชิ้นนี้ได้ทำการทดลองโดยการติดตั้งระบบการกรองน้ำผ่านเทคโนโลยีเมมเบรนซึ่งผ่านเยื่อกรอง 2 ชั้น ได้แก่ เยื่อกรองหยาบ 0.5 ไมครอน และเยื่อกรองละเอียดระดับรีเวอรสออสโมซิส ขนาด 4 x 40 นิ้ว ชนิด Polyamide thin film composite ...