Now showing items 1-5 of 5

    • การประเมินการดำเนินการเพิ่มศักยภาพเครือข่ายระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ เพื่อให้การดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ที่บ้าน ในช่วงเวลาที่เกิดวิกฤติระบบสุขภาพในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 

      ศิรินภา ศิริพร ณ ราชสีมา; Sirinapa Siriporn Na Ratchaseema; สายรัตน์ นกน้อย; Sairat Noknoy; อภินันท์ อร่ามรัตน์; Apinun Aramrattana; สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn; อนุวัตร แก้วเชียงหวาง; Anuwat Kaewchiangwang; ราม รังสินธุ์; Ram Rangsin; สตางค์ ศุภผล; Satang Supapon; วิรุฬ ลิ้มสวาท; Wirun Limsawart; นิตยา ภานุภาค; Nittaya Phanuphak; ปิยวรรณ ลิ้มปัญญาเลิศ; Piyawan Limpanyalert; กิตติ วงศ์ถาวราวัฒน์; Kitti Wongthavarawat; ยุพดี ศิริสินสุข; Yupadee Sirisinsuk; นาถนภา คำลอยฟ้า; Nathnapha Khumloyfa; นิมิตร์ เทียนอุดม; Nimit Tienudom; นพพรรณ พรหมศรี; Nopphan Promsri; ทัศนีย์ ญาณะ; Tassanee Yana; เกรียงไกร พึ่งเชื้อ; Kriengkrai Peungchuer; พลวัฒน์ ทศวิภาค; Ponrawat Thotwiphak; ธีระบูลย์ เลิศวณิชย์วัฒนา; Teeraboon Lertwanichwattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่ ช่วงกลางปี พ.ศ. 2564 นำไปสู่ปัญหาวิกฤติระบบสุขภาพในกรุงเทพมหานครที่ผู้ป่วยหนักไม่สามารถเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ ...
    • การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการยอมรับการทำหนังสือแสดงเจตนาเพื่อการรักษาทางการแพทย์ในผู้สูงอายุไทยโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน 

      จอนผะจง เพ็งจาด; Johnphajong Phengjard; ปานจันทร์ ฐาปนกุลศักดิ์; Panchan Thapanakulsuk; สุชาดา ทวีสิทธิ์; Suchada Thaweesit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-08)
      โครงการวิจัยนี้มีลักษณะเป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการยอมรับการทำหนังสือแสดงเจตนาในผู้สูงอายุไทยโดยมีชุมชนเป็นฐาน ดำเนินการศึกษาในตำบลพลับพลาไชย อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ในระยะที่หนึ่ง ...
    • การวิจัยประเมินเพื่อพัฒนารูปแบบการจ่ายเพื่อสนับสนุนระบบการจัดบริการสุขภาพ วิถีใหม่นอกโรงพยาบาล สำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (ปีที่ 1) 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล; Paibul Suriyawongpaisal; ภาณุวิชญ์ แก้วกำจรชัย; Phanuwich Kaewkamjornchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้เกิดผลกระทบในระบบสุขภาพในประเด็นความต่อเนื่องของการส่งมอบบริการสำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ทั้งจากสถานการณ์ของจำนวนผู้ติดเชื้อเองและผลจากมาตรการนโยบายต่างๆ ที่ใช้ควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขและสำนั ...
    • ผลลัพธ์การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ด้วยระบบการแยกกักตัวที่บ้าน 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn; ราม รังสินธุ์; Ram Rangsin; กิตติ วงศ์ถาวราวัฒน์; Kitti Wongthavarawat; อรุโณทัย ศิริอัศวกุล; Arunotai Siriussawakul; ปารวี ชีวะอิสระกุล; Parawee Chevaisrakul; วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ; Varalak Srinonprasert; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; สายรัตน์ นกน้อย; Sairat Noknoy; ยุพดี ศิริสินสุข; Yupadee Sirisinsuk; ธีระบูลย์ เลิศวณิชย์วัฒนา; Teeraboon Lertwanichwattana; พุทธภูมิ ลำเจียกเทศ; Putthapoom Lumjiaktase; ศิรินภา ศิริพร ณ ราชสีมา; Sirinapa Siriporn Na Ratchaseema; พงศ์ธร เกียรติดำรงวงศ์; Pongtorn Kietdumrongwong; นิตยา ภานุภาค; Nittaya Phanuphak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      สถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ของประเทศไทย พบว่า เกิดความรุนแรงถึงระดับภาวะวิกฤตทางด้านสาธารณสุข จากการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระลอกที่ 3 ตั้งแต่เดือนเมษายน พ.ศ. 2564 โดยเกิดภาวะวิกฤตสูงสุดในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงกันยายน ...
    • สถานการณ์โรคหลอดเลือดหัวใจจากทะเบียนโรค 

      สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      โรคหัวใจเป็นปัญหาสำคัญปัญหาหนึ่งของประเทศ ซึ่งจากสถิติของกระทรวงสาธารณสุขโรคหัวใจเป็นหนึ่งใน 5 อันดับต้นของสาเหตุการตายของประชากรไทย ข้อมูลทางระบาดวิทยาของโรคหัวใจ ยังไม่เคยมีการเก็บรวบรวมจากทั่วประเทศอย่างเป็นระบบและครอ ...