Now showing items 1-20 of 29

    • The Last Mile of UHC in Thailand, Do We Reach the Vulnerable. 

      พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์; Peerapol Sutiwisesak; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; Samrit Srithamrongsawat; จเร วิชาไทย; Charay Vichathai; เพ็ญแข ลาภยิ่ง; Phenkhae Lapying; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; Boonyawee Aueasiriwon; อาณัติ วรรณศรี; Arnat Wannasri; อุทุมพร วงษ์ศิลป์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01-30)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมในหัวข้อ The last mile of UHC in Thailand, “Do we reach the vulnerable?” ในงานประชุมวิชาการนานาชาติรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจำปี 2560 วันที่ 30 มกราคม 2560 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์และบางกอกคอน ...
    • การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงแบบบูรณาการโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อเตรียมรับการระบาดซ้ำของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 

      สุพิชญา หวังปิติพาณิชย์; Supichaya Wangpitipanit; แสงเดือน ปิยะตระกูล; Sangduen Piyatrakul; ธิดา ทองวิเชียร; Thida Tongvichean (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบริบทสถานการณ์การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงแบบบูรณาการโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อเตรียมรับการระบาดซ้ำของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 2) ศึกษารูปแบบแ ...
    • การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว 

      มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2551)
      คุณรู้หรือไม่ โครงสร้างประชากรของประเทศไทยได้เปลี่ยนแปลงไปแล้ว ประชากรวัยเด็กลดลง สวนทางกับประชากรสูงอายุที่เพิ่มสูงขึ้น ขณะที่ประชากรวัยแรงงานเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย ประชากรวัยแรงงาน 100 คน ต้องรับภาระเลี้ยงดูผู้สูงอายุถึง ...
    • การประเมินผลการดูแลสุขภาพระยะกลางของผู้สูงอายุในประเทศไทยตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข 

      ธัญพร ชื่นกลิ่น; Thunyaporn Chuenklin; นงณภัทร รุ่งเนย; Nongnaphat Rungnoei; นภัส แก้ววิเชียร; Naphas Kaeowichian; เบญจพร สุธรรมชัย; Benjaporn Suthamchai; วิชาญ เกิดวิชัย; Wicharn Girdwichai; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (mixed methods) ทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์การดำเนินงานการดูแลสุขภาพระยะกลางในผู้สูงอายุตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข 2) ประเมินผลการดำเนินงานกา ...
    • การประเมินระบบการดูแลผู้สูงอายุที่กระดูกสะโพกหักที่ผ่าตัดเร็วโดยทีมสหสาขาวิชาชีพในโรงพยาบาลนำร่องของประเทศไทยและผลกระทบของการระบาดของโควิด-19 ต่อระบบการดูแลผู้สูงอายุที่กระดูกสะโพกหัก (ปีที่1) 

      วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ; Varalak Srinonprasert; อรุโณทัย ศิริอัศวกุล; Arunotai Siriussawakul; สุวิมล ต่างวิวัฒน์; Suwimon Tangwiwat; ธีรวุฒิ ธรรมวิบูลย์ศรี; Theerawoot Tharmviboonsri; เอกภพ หมอกพรม; Ekkaphop Morkphrom; อัญชนา สุรอมรรัตน์; Unchana Sura-amonrattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-02)
      ภาวะกระดูกสะโพกหัก (hip fracture) ในผู้สูงอายุ เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของระบบสาธารณสุขทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย การดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้อย่างเหมาะสม ประกอบด้วย การรักษาโดยการผ่าตัดเร็ว (fast track surgery) และการดูแลโดยทีมสหส ...
    • การพัฒนารูปแบบการบริบาลและการรักษาพยาบาลผู้สูงอายุระดับปฐมภูมิในสังคมปกติวิถีใหม่: ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการปฏิรูประบบสาธารณสุข 

      ศิริอร สินธุ; Siriorn Sindhu; รวมพร คงกำเนิด; Roumporn Konggumnerd; นัยนา หนูนิล; Naiyana Noonin; กฤตพัทธ์ ฝึกฝน; Krittapat Fukfon; นิชดา สารถวัลย์แพศย์; Nichada Santwanpas; ปทุมทิพย์ อดุลวัฒนศิริ; Patoomthip Adunwatanasiri; กุลระวี วิวัฒนชีวิน; Kulrawee Wiwattanacheewin; สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ; Suwat Wiriyapongsukit; สกานต์ บุนนาค; Sakarn Bunnag; สันติ ลาภเบญจกุล; Santi Lapbenjakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      การพัฒนารูปแบบการบริบาลและการรักษาพยาบาลผู้สูงอายุระดับปฐมภูมิในสังคมปกติวิถีใหม่ ถือเป็นความท้าทายของประเทศเพื่อเตรียมรองรับสังคมสูงอายุสุดขีด (Hyper-aged society) ในอีก 9 ปีข้างหน้า การออกแบบนวัตกรรมการบริบาลและการรักษ ...
    • การพัฒนารูปแบบการให้บริการสุขภาพระดับปฐมภูมิสำหรับผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมในการถ่ายโอนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัดกำแพงเพชร 

      สกล สินธุพรหม; Sakol Sintuprom; ธีรเดช นรัตถรักษา; Teeradej Narattharaksa; อาทิน คำซาว; Artin Khamsaow; สุกัญญา พงศ์ประภาอำไพ; Sukanya Pongprapa-ampai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเข้าถึงบริการและปัญหาอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ที่ถ่ายโอนไปยังองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) กรณีศึกษาจังหวัดกำแพงเพชร ...
    • การพัฒนาสภาพแวดล้อมภายในที่พักอาศัยเพื่อการฟื้นฟูผู้สูงอายุภาวะซึมเศร้า 

      นวลวรรณ ทวยเจริญ; Nuanwan Tuaycharoen; จรรยา จันทรขันตี; รภัสพิศา ธนสิษฐ์จำรูญ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-01)
      การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมภายในที่พักอาศัยเพื่อการฟื้นฟูผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคซึมเศร้า โดยการศึกษาประกอบด้วยขั้นตอนหลัก 3 ขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาพฤติกรรมการใช้อาคาร อุปสรรคและข้อจำกัดทางกายภา ...
    • การพัฒนาสภาพแวดล้อมภายในที่พักอาศัยเพื่อการฟื้นฟูผู้สูงอายุภาวะสมองเสื่อม 

      นวลวรรณ ทวยเจริญ; Nuanwan Tuaycharoen; วนารัตน์ กรอิสรานุกูล; Wanarat Kornisranukul; นงนาถ จวนแจ้ง; สมปอง เทียนวันเพ็ญ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-01)
      การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมภายในที่พักอาศัยเพื่อการฟื้นฟูผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคสมองเสื่อม โดยการศึกษาประกอบด้วยขั้นตอนหลัก 3 ขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาพฤติกรรมการใช้อาคาร อุปสรรคและข้อจำกัดทางกาย ...
    • การพัฒนาหลักสูตรการดูแลตนเองของผู้สูงอายุตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 

      โสภนา สุดสมบูรณ์; อัญชลี เหมชะญาติ; ประยงค์ แก่นลา; สุดารัตน์ สุดสมบูรณ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-01)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อประเมินพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้สูงอายุตามทฤษฎีการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์และหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ 2) เพื่อสร้างและพัฒนาหลักสูตรการดูแลตนเองของผู้สูงอายุเชิงบูรณาการระ ...
    • การศึกษาสถานการณ์สุขภาพสังคมสูงวัยและปัญหาการเดินทางมารับบริการสุขภาพในชุมชนเมืองรอบโรงพยาบาลสิรินธร กรุงเทพมหานคร 

      พัสตราภรณ์ ทิพยโสธร; Pastraporn Thipayasothorn; อมรช้ย ชัยชนะ; Amornchai Chaichana; ทิพวัลย์ เรืองฤทธิ์; Thipawan Ruangrit; เอื้อมอัมพร เพชรสินจร; Aueamaumporn Phetsinchorn; ประทุม มั่นคง; Prathum Monkhong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)
      สถานการณ์สุขภาพสังคมสูงวัยและปัญหาการเดินทางในกลุ่มคนสูงวัยในชุมชนเมือง กรุงเทพมหานคร มีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมในการกำหนดการศึกษากิจกรรมสุขภาพสังคมสูงวัย กับรูปแบบการเดินทางในชุมชนเมือง กรุงเทพมหานคร จากปัญหาจากความบก ...
    • การศึกษาสถานดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในประเทศไทย 

      ศิริพันธุ์ สาสัตย์; ทัศนา ชูวรรธนะปกรณ์; เตือนใจ ภักดีพรหม; เพ็ญจันทร์ เลิศรัตน์; ผ่องพรรณ อรุณแสง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, 2552-02-28)
      การศึกษาสถานดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในประเทศไทย ที่ให้บริการแก่ผู้ที่มีอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป โดยใช้วิธีวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาข้อมูลพื้นฐานสถานบริการในเขตภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง กรุงเทพมหานคร ...
    • การศึกษาเชิงนโยบายใน 10 ปีข้างหน้าต่อการเข้าถึงการบริการสุขภาพของผู้สูงอายุ จังหวัดปทุมธานี ในสถานการณ์ระบาดของโควิด-19 ระลอก 5 

      ลภัสรดา หนุ่มคำ; Lapatrada Numkham; กิตติยาภรณ์ โชคสวัสดิ์ภิญโญ; Kittiyaporn Choksawadphinyo; กันตาภัทร บุญวรรณ; Kantapat Boonwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ส่งผลกับการให้บริการของสถานพยาบาลทุกระดับ มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบในการบริการ ผู้สูงอายุมีการรับรู้ที่จำกัดเกี่ยวกับระบบริการสุขภาพ และเมื่อเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ...
    • ข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนารูปแบบการจัดระบบบริการสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมือง 

      สิริมา มงคลสัมฤทธิ์; Sirima Mongkolsomlit; คัติยา อีวาโนวิช; Katiya Ivanovitch; ศุภางค์ วัฒนเสย; Supang Wattanasoei; สุรางค์รัตน์ พ้องพาน; Surangrat Pongpan; สยัมภู ใสทา; Sayambhu Saita; นนท์ธิยา หอมขำ; Nontiya Homkham; ชวินทร มัยยะภักดี; Chavinthorn Maiyapakdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      การศึกษาข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนารูปแบบการจัดบริการสุขภาพและสิ่งแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุเขตเทศบาลเมือง มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการจัดบริการสุขภาพและสิ่งแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุเขตเทศบาลเมืองปทุมธานี และเทศบาลเมือ ...
    • ความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อรองรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในอนาคต 

      นงลักษณ์ พะไกยะ; Nonglak Pagaiya; ศิริพันธุ์ สาสัตย์; Siriphan Sasat; วาสินี วิเศษฤทธิ์; Wasinee Wisesrith (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการกำลังคนด้านสุขภาพเพื่อรองรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของประเทศไทย วิธีการศึกษาประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ได้แก่ การเก็บข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิและการคาดการณ์ความต้องการกำลังคน ...
    • ความยินดีจ่ายสำหรับบริการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น 

      พสิษฐ์ พัจนา; Phasith Phatchana; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; ร่มตะวัน กาลพัฒน์; Romtawan Kalapat; นวลจันทร์ แสนกอง; Nuanchan Sankong; กฤษณี สระมุณี; Kritsanee Saramunee; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; กุลปรียา โพธิ์ศรี; Kulpreya Phosri; ภิเษก ระดี; Bhisek Radee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อวิเคราะห์มูลค่าความยินดีจ่ายสำหรับบริการการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความยินดีจ่าย กลุ่มตัวอย่างของการศึกษา คือ ประชากรอายุ 18 ปีขึ้นไปที่อาศัยอยู่ในตำบลสะอา ...
    • คู่มือการดูแลผู้สูงวัย : ปรับบ้านอยู่สบาย 

      วิรุจน์ สมโสภณ; ชุมเขต แสวงเจริญ; ภวินท์ สิริสาลี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-07)
      ประชากรผู้สูงอายุในประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ผลสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติ 4 ครั้งที่ผ่านมาระบุว่าประเทศไทยมีจำนวนและสัดส่วนของผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง โดยในปี 2537 จำนวนผู้สูงอายุคิดเป็นร้อยละ ...
    • คู่มือการดูแลผู้สูงวัย : เดินดีไม่มีล้ม 

      อารีรัตน์ สุพุทธิธาดา; รัมภา บุญสินสุข; ไพลวรรณ สัทธานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-07)
      คู่มือป้องกันการล้มในผู้สูงวัยเล่มนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และผู้ดูแลผู้สูงวัยที่บ้านและชุมชน พร้อมทั้งให้ความรู้เบื้องต้นเรื่องการจัดการความเสี่ยงในการล้ม รวมถึงการออกกำลังกาย ...
    • คู่มือการดูแลผู้สูงวัย : ไม้เท้าช่วยมอง 

      พิมพา ขจรธรรม; ณุชนาฏ โต๊ะดี; สุพิชชา สาไพรวัลย์; อรอนงค์ สงเจริญ; จันจิรา เปี่ยมพูล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-07)
      ภาวะความบกพร่องทางการเห็นหรือพิการทางการเห็นเป็นภาวะที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ โดยมีสาเหตุจากการเปลี่ยนแปลงหรือความเสื่อมที่เกิดขึ้นตามวัยหรือจากโรคภัยไข้เจ็บ เนื่องจาก “ตาและการมองเห็น” เป็นประสาทสัมผัสหลักที่ใช้ในการดำเนินชีวิต ...
    • คู่มือการออกแบบสภาพแวดล้อมภายในที่พักอาศัยเพื่อการฟื้นฟูผู้สูงอายุภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า 

      นวลวรรณ ทวยเจริญ; Nuanwan Tuaycharoen; วนารัตน์ กรอิสรานุกูล; Wanarat Kornisranukul; นงนาถ จวนแจ้ง; จรรยา จันทรขันตี; สมปอง เทียนวันเพ็ญ; รภัสพิศา ธนสิษฐ์จำรูญ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-01)
      สภาพแวดล้อมภายในอาคารนับเป็นองค์ประกอบสำคัญที่มีผลกระทบต่อการบำบัดและฟื้นฟูของผู้สูงอายุภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า ดังนั้น เรามีความจำเป็นในการใช้สภาพแวดล้อมภายในอาคารเพื่อบำบัดและฟื้นฟูของผู้สูงอายุภาวะสมองเสื่อมและภ ...