Now showing items 1-13 of 13

    • R2R เมื่อยามน้ำนอง (มองโจทย์ R2R ยามน้องน้ำมาเยือน) 

      โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2555-07-10)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัยครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” วันที่ 10 - 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • การจัดการภัยพิบัติของระบบสาธารณสุข : กรณีศึกษาประสบการณ์การจัดการภัยพิบัติในภาคใต้ 

      วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย; ประณีต ส่งวัฒนา; เนตรนภา คู่พันธวี; ลัพณา กิจรุ่งโรจน์; เนตรนภา พรมหมเทพ; วิวัฒน์ ศีตมโนชญ์; สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ; ต่อพงศ์ ครองไตรเวทย์; ชญานิษฐ์ เพ็ชรรัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ, 2556-11)
      ประเทศไทยต้องประสบภัยพิบัติที่มีความรุนแรงมากขึ้นและบ่อยครั้งขึ้น ส่งผลกระทบต่อประชาชนและระบบสาธารณสุขที่มีหน้าที่ต้องดูแลสุขภาพของประชาชนที่ประสบภัยพิบัติในวงกว้าง การวางระบบการจัดการภัยพิบัติที่ดีจึงจำเป็นอย่างยิ่งในกา ...
    • การเตรียมความพร้อมด้านระบบยา เวชภัณฑ์ และสิ่งของ เพื่อรองรับสถานการณ์ภัยพิบัติ 

      อรอนงค์ วลีขจรเลิศ; ภาณุมาศ ภูมาศ; ดวงตา ผลากรกุล; พรพิมล จันทร์คุณภาส; ไพทิพย์ เหลือเรืองรอง; วรนัดดา ศรีสุพรรณ; ภัทร์อนงค์ จองศิริเลิศ; กิตติ พิทักษ์นิตินันท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-06)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการเตรียมความพร้อมในการดำเนินการดำเนินการจัดหาและสนับสนุนยาเวชภัณฑ์และสิ่งของในระหว่างการเกิดภัยพิบัติในรูปแบบต่างๆ ที่เคยเกิดขึ้น เพื่อเป็นแนวทางสำหรับรองรับสถานการณ์ภัยพิบัติในอนาคต ...
    • การเรียนรู้ อยู่กับภัยพิบัติ: นิเวศวัฒนธรรม สื่อ รัฐ กับพลวัตชุมชน ปีที่ 2 

      สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ; Society and Health Institute; โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; Komatra Chuengsatiansup; Kaewta Sungkhachart; สิทธิโชค ชาวไร่เงิน; Sittichoke Chawraingern; สุจิตรา ปัญญา; Sujittra Panya; ประชาธิป กะทา; Prachatip Kata; ธนวรรณ สาระรัมย์; Thanawan Sararum; บุษบงก์ วิเศษพลชัย; Bussabong Wisetpholchai; แก้วตา สังขชาติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-04)
      โครงการเรียนรู้อยู่กับภัยพิบัติ: นิเวศวัฒนธรรม สื่อ รัฐ กับพลวัตชุมชน (ปีที่2) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์และปฏิกิริยาของชุมชนที่มีต่อภัยพิบัติ ทั้งก่อน ระหว่างและหลังการเกิดภัยพิบัติในบริบทนิเวศวัฒนธรรมท้องถิ่นที ...
    • ทบทวนวรรณกรรมน้ำท่วมกับสุขภาพ 

      วิทย์ วิชัยดิษฐ์; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2556-08-07)
      เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการวิชาการสังคมและสุขภาพ ประจำปี 2556 เรื่อง แนวรบสุขภาพ: พรมแดนวัฒนธรรมกับการรุกของทุน (Frontiers of Health: Cultural Borders and the Dominance of Capital) หัวข้อย่อย ภัยพิบัติ: ...
    • บทเรียนการบรรเทาภัยพิบัติ สถานการณ์อุทกภัยน้ำท่วมโคลนถล่มอำเภอลับแล และการพัฒนาแผนบรรเทาภัยพิบัติทีมสาธารณสุขอำเภอลับแล 

      กิตติพงศ์ อุบลสะอาด; Kittipong Aubolsaad; ผาสุข แก้วเจริญตา; Phasuk Kaewcharoenta (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      ในวันที่ 22-24 พฤษภาคม 2549 ได้เกิดภัยธรรมชาติฝนตกหนักที่อำเภอลับแล อำเภอเมือง อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ และจังหวัดใกล้เคียง เกิดอุทกภัย ดินโคลนถล่ม ก่อให้เกิดความเสียหายรุนแรงต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ประชาชนเกื ...
    • ผลกระทบทางสุขภาพจากธรณีพิบัติภัยคลื่นยักษ์สึนามิ : กรณีศึกษาชุมชนบ้านบางสัก อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา 

      แสงอรุณ อิสระมาลัย; Saengarun Isaramalai; ภัทราภรณ์ กฤษณะพันธ์; Phatrapron Khisanaphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่บริเวณเกาะสุมาตรา ในประเทศอินโดนีเซียเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ส่งผลให้บริเวณชายฝั่งอันดามันของประเทศไทย เกิดคลื่นยักษ์พัดน้ำทะเลเข้าฝั่ง ทําให้ 6 จังหวัดทางภาคใต้ของประเทศไทยได้รับความเสียหายอย่างมาก ...
    • ผลการดำเนินงานการพัฒนารูปแบบการจัดบริการแพทย์ฉุกเฉินเมื่อเกิดภัยพิบัติ 

      สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ, 2552-12)
    • ภัยพิบัติ ความทรงจำและความหวัง : พลังน้ำใจในมหาอุทกภัย 2554 

      บารมี เต็มบุญเกียรติ; เริงฤทธิ์ คงเมือง; อธิษฐ์ พีระวงษ์เมธา; จันทร์กลาง กันทอง; อรุณ ร้อยศรี; เริงชัย คงเมือง; บัณฑิต โชติสุวรรณ; วิษณุ วิเศษพุทธศาสน์ (สุขศาลา, 2555-10)
      การสร้างสรรค์ความรู้ของมนุษย์นั้น นอกจากการสังเกตเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นประจำและสม่ำเสมอ จนสามารถเข้าใจถึงความเปลี่ยนแปลงที่มีแบบมีแผนแล้ว มนุษย์ยังเรียนรู้จากสถานการณ์สุดโต่งหรืออุบัติการณ์ที่คาดไม่ถึง อันเป็นกรณีที่ผิ ...
    • มหาอุทกภัยปี 2554 : บทเรียนจากประสบการณ์ 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-08)
      ปัญหาอุทกภัยปี พ.ศ. 2554 ได้สร้างความเสียหายแก่ประเทศและประชาชนจำนวนมาก แม้ว่าหน่วยงานต่างๆ จะได้พยายามอย่างเต็มที่ในการเยียวยาความเดือดร้อนดังกล่าว เมื่อปัญหาดังกล่าวทุเลาลงหน่วยงานหลายภาคส่วนจึงให้ความสนใจถอดบทเรียนเพื ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2562 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2562 ประกอบด้วย จดหมายถึงบรรณาธิการ เรื่อง ช่องว่างในการควบคุมกฎหมายควบคุมเครื่องดื่มที่มีปริมาณแอลกอฮอล์ไม่เกิน 0.5 ดีกรี และกลยุทธ์ของธุรกิจน้ำเมา และการใช้กัญช ...
    • อวสานกรุงเทพฯ 2563 

      เสรี ศุภราทิตย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงเมืองหนึ่งที่มีการเติบโตและพัฒนาที่รวดเร็ว และจัดเป็นเมืองใหญ่ลำดับที่ 22 ของโลก เมื่อพิจารณาในแง่ของประชากรกว่า 8 ล้านคน กรุงเทพฯ ตั้งอยู่บนชั้นดินอ่อนลึกกว่า 15 เมตร โดยเป็นที่ราบต่ำลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ...
    • อุทกภัยในกรุงเทพมหานครและภาคกลางของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2554: ความท้าทายต่อความยืดหยุ่นของระบบสุขภาพ 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; สุลัดดา พงษ์อุทธา; Suladda Pongutta; นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee; คนางค์ คันธมธุรพจน์; Kanang Kantamaturapoj; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      อุทกภัยในปี พ.ศ. 2554 ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อพื้นที่กรุงเทพมหานครและภาคกลางของประเทศไทย นับเป็นความท้าทายที่สำคัญต่อความยืดหยุ่นของระบบสุขภาพไทยในการรับมือกับภาวะวิกฤติในครั้งนั้น การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาว่าระบบสา ...