Browsing by Subject "มะเร็ง"
Now showing items 1-20 of 23
-
การคัดกรองมะเร็งคอมดลูกในหญิงที่ติดเชื้อเอชไอวี จังหวัดปราจีนบุรี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลการตรวจคัดกรองมะเร็งคอมดลูกในหญิงที่ติดเชื้อเอชไอวีของอำเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา ได้แก่ หญิงสมาชิกชมรมผู้ติดเชื้อเอชไอวีของโรงพยาบาลประจันตคาม จำนวน 34 คน ... -
การจัดระบบบริการด้านรังสีรักษากับความต้องการและการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคมะเร็งในประเทศไทยปีงบประมาณ 2545
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)ด้วยเหตุผลที่โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่มีความสำคัญเป็นลำดับต้นของประเทศ และในขณะที่งานรังสีรักษามีความจำเป็นอย่างยิ่งต่อการบำบัดรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งทั้งในระยะเริ่มต้นและระยะสุดท้าย แต่สภาพปัญหาในปัจจุบันพบว่า ... -
การทบทวนวรรณกรรมค่าอรรถประโยชน์ด้านสุขภาพสำหรับผู้ป่วยโรคมะเร็งในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)ค่าอรรถประโยชน์ (Utility value) เป็นผลลัพธ์ที่สำคัญในการวิเคราะห์ต้นทุน-อรรถประโยชน์ (Cost utility analysis: CUA) จากแนวทางการวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ในประเทศไทยได้มีการแนะนำให้ใช้แบบสอบถาม EQ-5D-5L ในการหาค่าอ ... -
การทำนายผลการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดโดยใช้การวิเคราะห์ระดับทรานสคริปโตมิกส์และโปรตีโอมิกส์ในผู้ป่วยมะเร็งปอด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)มะเร็งปอดชนิดอะดีโนคาร์ซิโนมามีอุบัติการณ์การเกิดและการตายสูงเป็นลำดับต้นๆ ของประชากรโลก ยาเคมีบำบัดยังคงเป็นส่วนสำคัญในการรักษา แต่อย่างไรก็ตามอัตราการตอบสนองต่อการรักษาก็ยังต่ำ การศึกษาในครั้งนี้จึงมุ่งเน้นไปที่ค้นหาโป ... -
การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจยีน BRCA1/BRCA2 ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่ เพื่อตรวจหาผู้ที่เป็นมะเร็งที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมในประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)โรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่เป็นโรคที่พบได้บ่อยในเพศหญิง ในประเทศไทยมะเร็งเต้านมเป็นโรคที่มีอุบัติการณ์การเกิดมากที่สุดในเพศหญิง ส่วนโรคมะเร็งรังไข่พบได้เป็นอันดับ 6 โรคมะเร็งส่วนหนึ่งที่เกิดจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรมจะ ... -
การประเมินต้นทุน-อรรถประโยชน์ ของการใช้ยา Recombinant Human Erythropoietin เพื่อแก้ไขภาวะโลหิตจางที่เกิดจากยาเคมีบำบัดในผู้ป่วยมะเร็งในประเทศไทย
(โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2550-12) -
การประเมินผลโครงการพัฒนาระบบบริการตติยภูมิชั้นสูง (Excellence Center) ด้านโรคมะเร็งภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)รายงานฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อติดตามประเมินผลการพัฒนาระบบบริการตติยภูมิมะเร็งชั้นสูง ทั้งในด้านประสิทธิผลของการแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติ และกระบวนการบริหารจัดการที่ระดับโรงพยาบาล ผลลัพธ์รวมถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น วิธีการศึกษา ... -
การประเมินโครงการพัฒนาระบบบริการตติยภูมิชั้นสูงศูนย์มะเร็งภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12) -
การพัฒนาชุดตรวจหาการกลายพันธุ์ของยีนนิวคลีโอฟอสมินในผู้ป่วยโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดมัยอีลอยด์เพื่อการรักษาอย่างแม่นยำ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)การกลายพันธุ์ (mutation) ของยีนนิวคลีโอฟอสมิน (nucleophosmin; NPM1) เป็นการเปลี่ยนแปลงในระดับโมเลกุลที่พบมากที่สุดในโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดมัยอีลอยด์ (acute myelogenous leukemia; AML) โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีจำน ... -
การพัฒนายาแอนติบอดีต้นแบบต่อ PD-1 เพื่อใช้ในการรักษาโรคมะเร็งแบบภูมิคุ้มกันบำบัด
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)โรคมะเร็งเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตหลักในประเทศไทย ซึ่งวิธีการรักษาหลักของโรคมะเร็งนอกจากการผ่าตัด การใช้ยาเคมีบำบัด การฉายแสง และการใช้ฮอร์โมนแล้ว ยังมีการใช้ภูมิคุ้มกันบำบัดซึ่งเป็นอีกวิธีหนึ่งที่มีประสิทธิภาพในการรักษา ... -
การพัฒนาวิธีการตรวจหาเซลล์มะเร็งในกระแสเลือดโดยวิธีการแยกเซลล์ด้วยสารแม่เหล็กร่วมกับการตรวจหาแอนติเจนบางชนิดของเซลล์มะเร็ง ด้วยแอนติบอดีที่ติดฉลากด้วยสารเรืองแสง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562)การวิจัยนี้เป็นการพัฒนาวิธีการตรวจหาเซลล์มะเร็งจากเลือดของผู้ป่วยมะเร็ง ที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นการตรวจเพื่อคัดกรองหรือตรวจติดตามผู้ป่วยมะเร็ง ใช้วิธีการเจาะเลือดจากหลอดเลื ... -
การศึกษาความแตกต่างและทางเลือกในการประสานการจัดระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าใช้จ่ายสูงของระบบหลักประกันสุขภาพของประเทศไทย :กรณีศึกษาโรคมะเร็ง โรคไตวายเรื้อรัง และโรคเอดส์
(สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหลักการ แนวทางหรือรูปแบบการจัดกลไกกลางของระบบประกันสุขภาพในต่างประเทศในการจัดระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีค่าใช้จ่ายสูง นโยบายและการพัฒนาแนวทางหรือรูปแบบการจัดกลไกของระบบหลักประกั ... -
การเพิ่มเข้าถึงบริการรังสีรักษาด้วยระบบส่งต่อทาง internet
(สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 3 นครสวรรค์, 2554-07)เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย ครั้งที่ 4 เรื่อง ขยายคุณค่างานประจำ: R2R พัฒนาการบริหารจัดการ วันที่ 20 กรกฎาคม 2554 เวลา 13.00-16.30 น. ณ Jupiter8-9 อาคารชาแลนเจอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี -
ความต้องการและทบทวนดัชนีชี้วัดโรคมะเร็งระดับนานาชาติและระดับชาติและพัฒนาดัชนีชี้วัดโรคมะเร็ง
(สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2550)รายงานความต้องการและทบทวนดัชนีชี้วัดโรคมะเร็งระดับนานาชาติและพัฒนาดัชนีชี้วัดโรคมะเร็ง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการพัฒนาระบบข้อมูลโรคมะเร็ง ภายใต้แผนงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ เพื่อทบทวนบทบาทและความต้องการใช้ข้อมูลขอ ... -
ต้นทุนการดูแลผู้ป่วยมะเร็งแบบประคับประคองของโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดขอนแก่น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)การดูแลแบบประคับประคองเป็นขั้นตอนสำคัญของการดูแลผู้ป่วยมะเร็งโดยเฉพาะเมื่อเข้าสู่ระยะท้าย องค์การอนามัยโลกได้กล่าวไว้ว่าการดูแลแบบประคับประคองนั้นมีต้นทุนต่ำ แต่การศึกษาต้นทุนของบริการประเภทนี้ในประเทศไทยยังมีจำกัด ... -
ทบทวนระบบส่งต่อผู้ป่วยมะเร็งของศูนย์รังสีวิทยา ภายใต้ความร่วมมือระหว่างโรงพยาบาลราชบุรี ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)ปัจจุบันการนำเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทในการพัฒนาระบบหรือ e-health ซึ่งริเริ่มโดยองค์การอนามัยโลก ที่ต้องการใช้ประสิทธิภาพของเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการให้บริการด้านสุขภาพและเชื่อมโยงระหว่างผู้ป่วยกับผู้ให้บริ ... -
ทะเบียนผู้ป่วยมะเร็งเด็ก ระยะที่ 1 : ระบาดวิทยาและการดำเนินโรค
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)โครงการวิจัยมะเร็งเด็ก ได้ทําทะเบียนผู้ป่วยมะเร็งเด็กทุกชนิดโดยลงทะเบียนครอบคลุมผู้ป่วยมะเร็งทุกรายที่มีภูมิลําเนาในประเทศไทย การทราบชนิดและอุบัติการณ์ของโรคมะเร็งเด็กจะเป็นข้อมูลที่สําคัญในการวางแผนการศึกษาและการรักษาผู้ป่วยต่อไป ... -
นำร่องการวิจัยสำหรับจีโนมิกส์ประเทศไทย: การศึกษาข้อมูลรหัสพันธุกรรมของผู้ป่วยมะเร็งชาวไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของประชากรไทย โดยมะเร็งเกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมของเซลล์ การกลายพันธุ์ของยีนก่อมะเร็งที่พบสามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด อันได้แก่ การกลายพันธุ์ที่เกิดขึ้นเองในเนื้อเยื่อปกติ (somatic ... -
ปัจจัยเสี่ยงที่สัมพันธ์ต่อการเปลี่ยนแปลงเป็นมะเร็งในเนื้องอกสมองชนิดแอสโตไซโตมา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)เนื้องอกสมองชนิดแอสโตไซโตมา (Astrocytoma) สามารถพบการเปลี่ยนแปลงเป็นมะเร็ง (Malignant transformation: MT) พบได้ร้อยละ 9-23 ซึ่งการเกิดการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลต่อการพยากรณ์โรคของผู้ป่วยแย่ลง และในปัจจุบันยังขาดหลักฐานเ ... -
ผลจากการแบ่งกลุ่มย่อยระดับโมเลกุลในมะเร็งกระเพาะปัสสาวะที่รุกเข้าชั้นกล้ามเนื้อ โดยการจัดกลุ่มระดับการแสดงออกของยีนต่อการทำนายการรอดชีพ และการตอบสนองต่อการรักษา
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)มะเร็งกระเพาะปัสสาวะชนิดที่รุกเข้ากล้ามเนื้อ (muscle invasive bladder cancer) ถือเป็นมะเร็งกระเพาะปัสสาวะชนิดที่มีความรุนแรง ยากต่อการรักษาและอัตราการรอดชีพต่ำ ในปัจจุบันการศึกษาในระดับโมเลกุลเพื่อหารูปแบบของมะเร็งที่สัม ...