• HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับที่ 5 : เดินหน้าสู่การควบคุมค่ายา ในระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-10)
      ฉบับนี้เปิดประเด็นด้วยเรื่องใหญ่ที่เกี่ยวข้องกับระบบสุขภาพของประเทศ นั่นคือ ‘การใช้ยาที่สมเหตุผล’ เนื่องจากที่ผ่านมา ประเทศไทยใช้จ่ายค่ายารักษาโรค รวมกันปีละหลายแสนล้านบาท เช่น ในปี 2551 มูลค่ายานำเข้ารวมกันสูงถึง 2.7 ...
    • ICH Good clinical practice guideline ฉบับภาษาไทย 

      สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2550-10)
      การปฏิบัติการวิจัยทางคลินิกที่ดี (Good Clinical Practice: GCP) เป็นมาตรฐานสากลด้านจริยธรรมและวิชาการสําหรับวางรูปแบบ ดําเนินการ บันทึก และรายงานการวิจัยทางคลินิก การปฏิบัติตามมาตรฐาน GCP เป็นการรับประกันว่า สิทธิความปลอดภัย ...
    • กลยุทธ์การกำหนดและควบคุมราคายา : ก่อนขาย (หลังขึ้นทะเบียนยา) เมื่อคัดเลือกเข้าบัญชียาแห่งชาติ และโดยผู้จ่ายค่ายารายใหญ่ 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-02-27)
      วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบกลยุทธ์การกำหนดและควบคุมราคายาแบบต่างๆ ที่ต่างประเทศใช้ในระหว่างการขึ้นทะเบียน (ก่อนยาออกจาหน่าย), เมื่อคัดเลือกเข้าบัญชียาแห่งชาติ, และโดยผู้จ่ายค่ายารายใหญ่ 2. ใช้กรณีศึกษาวิเ ...
    • การจัดการงานวิจัยระบบสุขภาพ : ยุทธวิธีในการปฏิรูประบบสุขภาพ 

      เสาวคนธ์ รัตนวิจิตราศิลป์; เดชรัต สุขกำเนิด (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547-10)
    • การจัดทำทิศทางและโจทย์วิจัยเพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sriphan Tantiwet; สมหญิง พุ่มทอง; Somying Pumtong; พักตร์วิภา สุวรรณพรหม; Puckwipa Suwannaprom; ศิริตรี สุทธจิตต์; Siritree Suttajit; อัญชลี จิตรักนที; Anchalee Jitraknatee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      แผนงานวิจัยและพัฒนาระบบยา สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ถูกจัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2552 และให้การสนับสนุนทุนวิจัยรวมทั้งจัดการงานวิจัยอย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากสถานการณ์ในระบบยาของประเทศและปัจจัยแวดล้อม ...
    • การจัดทำระบบทะเบียนผู้ป่วยผื่นแพ้ยาชนิดรุนแรงแบบสหสถาบันแบบครบวงจร (ปีที่ 2) 

      เจตทะนง แกล้วสงคราม; Jettanong Klaewsongkram; ภาวิณี ฤกษ์นิมิตร; Pawinee Rerknimitr; ยุทธนา ศรีนวลประเสริฐ; Yuttana Srinoulprasert; สุปราณี บูรณประดิษฐ์กุล; Supranee Buranapraditkun; ทิชา ฤกษ์พัฒนาพิพัฒน์; Ticha Rerkpattanapipat; กุมุทนาถ จันทร์ประภาพ; Kumutnart Chanprapaph; ปภาพิต ตู้จินดา; Papapit Tuchinda; ลีนา จุฬาโรจน์มนตรี; Leena Chularojanamontri; ชุติกา ศรีสุทธิยากร; Chutika Srisutthiyakorn; วรีพร ดิสภานุรัตน์; Wareeporn Disphanurat; พัลลภ จักรวิทย์ธำรง; Panlop Chakkavittumrong; นภัทร โตวณะบุตร; Napatra Tovanabutra; ชลภัทร สุขเกษม; Chonlaphat Sukasem (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07)
      ผู้ป่วยผื่นแพ้ยาชนิดรุนแรง จำนวน 195 ราย ได้รับการคัดเลือกให้เข้าร่วมในการวิจัยนี้ ผลการศึกษาพบว่าผื่นแพ้ยาชนิด Steven-Johnson syndrome/toxic epidermal necrolysis (SJS/TEN) และ drug reaction with eosinophilia and systemic ...
    • การติดตามการเสื่อมทางกายภาพของผลิตภัณฑ์ยาในโรงพยาบาลของรัฐ 

      สุขศรี อึ้งบริบูรณ์ไพศาล; Sooksri Ungboriboonpisal (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      จากการติดตามศึกษาแบบไปข้างหน้าระยะยาว เพื่อติดตามการเสื่อมทางกายภาพของผลิตภัณฑ์ยาในโรงพยาบาลรัฐ สังกัดกระทรวงสาธารณสุขทั่วประเทศ และโรงพยาบาลในเขตกรุงเทพมหานครในช่วง 5 ปี (พ.ศ. 2547-2551) โดยสำนักยาและวัตถุเสพติด ...
    • การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการทำ Managed Entry Agreement (MEA) 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; Cha–oncin Sooksriwong; ปิยพัทธ์ โอวาท; Piyapat Owat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      เมื่อยาที่มีราคาแพงหรือยาใหม่ที่มีข้อมูลเกี่ยวกับประสิทธิภาพของยาที่ยังไม่สมบูรณ์ออกสู่ตลาด จะมีผลกระทบต่อผู้ซื้อบริการสุขภาพในฐานะที่เป็นผู้จ่ายเงินในระบบสุขภาพ การทำข้อตกลงในรูปแบบ managed entry agreement หรือ MEA ...
    • การทบทวนอย่างเร็ว (Rapid review) งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับระบบยาของประเทศไทย 

      ภิญญุภา เปลี่ยนบางช้าง; กุลธิดา ไชยจินดา; อภินันท์ สิริรัตนาธร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-09)
      จากการทบทวนงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการทั้งสิ้น 132 เรื่อง ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษพบว่า ความไม่เหมาะสมในการใช้ยาที่ยังคงเป็นปัญหาใหญ่ของระบบ และลักษณะของงานวิจัยที่มีขนาดเล็ก ต่างคนต่างทำด้วยแนวปฏิบัติที่ต่างกัน ...
    • การบริหารความเสี่ยงของการปะปนกันของยาสำหรับการเปลี่ยนแปลงในการผลิตยาแผนปัจจุบัน 

      สุทธีสา เกตุสุริยงค์; Sutteesa Getsuriyong; จิตรา รู้กิจการพานิช; Jittra Rukijkanpanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-09)
      การผลิตยาต้องเป็นไปตามข้อกำหนดด้านคุณภาพ แต่ในกระบวนการผลิตยามีโอกาสที่จะเกิดการปะปนกันของยาโดยเฉพาะเมื่อมีการผลิตยาหลายรายการโดยใช้เครื่องมือเดียวกันซึ่งจะเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคและส่งผลต่อภาพลักษณ์ขององค์กร งานวิจัยนี้ ...
    • การบริหารจัดการเวชภัณฑ์กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019: ปัญหา อุปสรรคในการจัดซื้อของภาครัฐ ภาคเอกชน และแนวทางแก้ไข 

      รัตพงษ์ สอนสุภาพ; Rattaphong Sonsuphap; สิตานนท์ เจษฎาพิพัฒน์; Sitanon Jesdapipat; อิสรีย์ ภักดิ์ศรีแพง; Itsaree Phaksipaeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      การวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการเวชภัณฑ์กรณีโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 : ปัญหา อุปสรรคในการจัดซื้อของภาครัฐ ภาคเอกชน และแนวทางแก้ไข มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการจัดหาเวชภัณฑ์เกี่ยวกับโรค COVID-19 ได้แก่ วัคซีน ...
    • การปฏิรูปความมั่นคงด้านยาและเวชภัณฑ์ของประเทศไทย 

      วินิต อัศวกิจวิรี; Vinit Usavakidviree; ชะอรสิน สุขศรีวงศ์; Cha-oncin Sooksriwong; ฟ้าใส จันท์จารุภรณ์; Farsai Chanjaruporn; วราวุธ เสริมสินสิริ; Varavoot Sermsinsiri; คัคนางค์ โตสงวน; Kakanang Tosanguan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-04)
      ประเทศไทยยังขาดระบบการบริหารจัดการยาและเวชภัณฑ์ในภาวะฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพและต้องพึ่งพาการนำเข้าจากต่างประเทศและมีแนวโน้มที่สูงขึ้น พึ่งพาตนเองได้น้อย ดังนั้นงานวิจัยชิ้นนี้จึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อเสนอแนะแนวทางการปฏิรูป ...
    • การประมาณขนาดของปัญหาและความสูญเสียทางการเงินของรัฐเมื่อผู้ป่วยมียาไว้ในครอบครองเกินความจำเป็น 

      นภวรรณ เจียรพีรพงศ์; Noppawan Chearpeerapong (คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล, 2552-07-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัย R2R : เพิ่มคุณค่า พัฒนาคน พัฒนาบริการ ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ ห้องย่อยที่ 7 : แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน R2R ในช่วงหนึ่งปีที่ผ่านมาจากอดีตผู้ที่ได้รับรางวัล ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย ปีที่ 1 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; Saowalak Turongkaravee; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; วันวิสาข์ อุดมสินประเสริฐ; Wanvisa Udomsinprasert; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      การตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ยามีความหลากหลายและมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับการไม่ตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ก่อนเริ่มใช้ยา แต่ทว่าทรัพยากรทางสุขภ ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์และผลกระทบด้านงบประมาณของการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย ปีที่ 2 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; เสาวลักษณ์ ตุรงคราวี; Saowalak Turongkaravee; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; วันวิสาข์ อุดมสินประเสริฐ; Wanvisa Udomsinprasert; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      บทนำ : จากการจัดลำดับความสำคัญและการคัดเลือกการตรวจทางเภสัชพันธุศาสตร์ (คู่ยีน-ยา) ที่ควรนำมาพิจารณาประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ พบว่า การตรวจยีน HLA-B*57:01 เปรียบเทียบกับการไม่ตรวจยีน ก่อนเริ่มการรักษาด้วยยา Abacavir ...
    • การประเมินผลระบบบริการจัดส่งยาทางไปรษณีย์สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ในประเทศไทย 

      สุรศักดิ์ สุนทร; Surasak Soonthorn; ศรีสุดา งามขำ; Srisuda Ngamkham; กมลทิพย์ ตั้งหลักมั่นคง; Kamonthip Tanglakmankhong; บุญเตือน วัฒนกุล; Boontuan Wattanakul; ศุทธินี วัฒนกูล; Suttini Wattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      จากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ตลอดระยะเวลาสองปีที่ผ่านมา กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดมาตรการและนโยบายในด้านต่างๆ เพื่อลดความเสี่ยงจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา เพิ่มความปลอดภัยแก่ผู้ป่วยและผู้ให้บริการด้านสุขภาพ โดยหนึ่งในน ...
    • การพัฒนากลไกสู่ประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล ระยะที่ 1 

      นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; นุชรินธ์ โตมาชา; Nucharin Tomacha; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07)
      การใช้ยาไม่สมเหตุผล ทั้งในสถานพยาบาลรัฐและเอกชน รวมถึงการซื้อยากินเองจากแหล่งกระจายยาไม่เหมาะสมเป็นปัญหาของประเทศไทยที่มีมาอย่างยาวนานกว่า 4 ทศวรรษ ต่อมามีความพยายามในการแก้ไขปัญหา โดยมีการพัฒนาเริ่มจากโรงพยาบาลส่งเสริมก ...
    • การพัฒนาข้อเสนอตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับสถานพยาบาลและร้านยา 

      สุนทรี วัชรดำรงกุล; Suntaree Watcharadamrongkun; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; กิติยศ ยศสมบัติ; Kitiyot Yotsombut; ตุลาการ นาคพันธ์; Tulakarn Nakpun; บรรณสรณ์ เตชะจำเริญสุข; Bunnasorn Techajumlernsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผลถูกกำหนดเป็นยุทธศาสตร์หนึ่งในนโยบายแห่งชาติด้านยาตั้งแต่นโยบายแห่งชาติด้านยาฉบับแรก ในปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้การใช้ยาอย่างสมเหตุผลและการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพเป็นโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ...
    • การพัฒนาชุมชนต้นแบบด้านความร่วมมือในการใช้ยาแบบบูรณาการสำหรับผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 

      ชื่นจิตร กองแก้ว; Chuenjid Kongkaew; อุไรวรรณ ชัยชนะวิโรจน์; Uraiwan Chaichanawirote; ปิ่นหทัย ศุภเมธาพร; Pinhatai Supametaporn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      ที่มาและความสำคัญ : โรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นกลุ่มโรคที่จำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยยาอย่างต่อเนื่อง ความร่วมมือในการรักษาด้วยยาจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยส่งเสริมให้การรักษาบรรลุเป้าหมาย วัตถุประสงค์ : (1) เพื่อสังเคราะห์อ ...