Now showing items 1-17 of 17

    • การกระจายร้านยากับความต้องการด้านสุขภาพในประเทศไทย 

      สุมน นิติการุญ; Sumon Nitikarun; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-03-31)
      ร้านยาเป็นหน่วยบริการสุขภาพที่ให้บริการยาและสุขภาพเบื้องต้นในชุมชน การกระจายร้านยาในแต่ละพื้นที่อย่างเหมาะสมจะทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการเภสัชกรรมชุมชนได้ง่ายขึ้น และมีความปลอดภัยจากการใช้ยามากขึ้น วัตถุประสงค์ ...
    • การประเมินต้นทุนของโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล 

      ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; นภชา สิงห์วีรธรรม; Noppcha Singweratham; วิน เตชะเคหะกิจ; Win Techakehakij; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; Thanawat Wongphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-08-31)
      ปัญหาความแออัดในโรงพยาบาลส่งผลต่อคุณภาพและความพึงพอใจของผู้รับบริการ ร้านขายยาเป็นหนึ่งในสถานบริการสาธารณสุขที่มีบทบาทในการดูแลสุขภาพที่กระจายและคลอบคลุมพื้นที่มากกว่าสถานบริการหน่วยงานอื่นๆ ของรัฐ ปัจจุบันการประกอบวิชาช ...
    • การประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation) โครงการนำร่องผู้ป่วยรับยาที่ร้านยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลกาฬสินธุ์ 

      กรแก้ว จันทภาษา; Kornkaew Chantapasa; กฤช โชติการณ์; Krit Chotikan; อรนิฎา ธารเจริญ; Ornnida Tharncharoen; รัตติยา แดนดงยิ่ง; Rattiya Dandongying; ชนานันทน์ ไชยคำนวน; Chananan Chaikumnuan; มันตา มองเพชร; Manta Mongphet (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-01)
      การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากระบวนการดำเนินงานโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านยา จังหวัดกาฬสินธุ์ เพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้บรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ...
    • การประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation) โครงการนำร่องผู้ป่วยรับยาที่ร้านยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลจังหวัดขอนแก่น 

      นุศราพร เกษสมบูรณ์; Nusaraporn Kessomboon; วรรณี ชัยเฉลิมพงษ์; Wannee Chaichalermpong; อรนุช ทองจันดี; Oranuch Thongjundee; สุกัณฑา หมวดทอง; Sukunta Muadthong; กิตติยา ปิยะศิลป์; Kittiya Piyasin; นิสรา ศรีสุระ; Nissara Srisura (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      การประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation) เป็นการประเมินที่เน้นการเรียนรู้การปรับตัวและสอดคล้องกับการนำไปใช้ เพื่อให้สามารถใช้ผลการประเมินเป็นแนวทางในการพัฒนาและการปรับตัวได้ทันที เป็นแนวทางที่ได้นำมาใช้มากขึ้นในก ...
    • การประเมินผลเชิงพัฒนา (Developmental Evaluation) โครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาลร้อยเอ็ด 

      พยอม สุขเอนกนันท์ โอล์สัน; Phayom Sookaneknun Olson; พีรยา ศรีผ่อง; Peeraya Sriphong; จันทร์ทิพย์ กาญจนศิลป์; Juntip Kanjanasilp; สายทิพย์ สุทธิรักษา; Saithip Suttiruksa; ธีระพงษ์ ศรีศิลป์; Theerapong Seesin; เปมรินทร์ โพธิสาราช; Pemmarin Potisarach; เพียงขวัญ ศรีมงคล; Piangkwan Srimongkhol; ปะการัง ศรีวะสุทธิ์; Pakarung Sriwasut; นันทนิจ มีสวัสดิ์; Nanthanich Meesawat; ธีระวุฒิ มีชำนาญ; Theerawut Meechumnan; ระพิตราภรณ์ พิพัฒนมงคล; Rapitraporn Pipattanamongkon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-01-12)
      การประเมินผลเชิงพัฒนา (developmental evaluation) เป็นวิธีการประเมินที่เน้นการมีส่วนร่วมของผู้วิจัยและผู้ดำเนินโครงการเพื่อส่งเสริมพัฒนาการดำเนินงานให้สามารถไปถึงเป้าหมายได้ โดยวัตถุประสงค์ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้คือ ...
    • การประเมินผลเชิงพัฒนาของโรงพยาบาลมหาสารคาม ภายใต้การประเมินผลโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล ระยะที่ 2 

      สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; จุฬารัตน์ ฮาดวิเศษ; Jularat Hadwiset; กาญจนาภรณ์ ตาราไต; Kanjanaporn Taratai; เพียงขวัญ ศรีมงคล; Piangkwan Srimongkhol; ร่มตะวัน กาลพัฒน์; Romtawan Kalapat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-06)
      ในปี 2562 รัฐบาลมีนโยบายโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการดำเนินโครงการฯ ในจังหวัดมหาสารคาม วิธีการวิจัย: วิธีวิจัยแบบผสมผสาน ศึกษารูปแบบการจัดบ ...
    • การประเมินโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล ระยะที่ 2 

      รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; อารยา ญาณพิบูลย์; Araya Yanpiboon; กุนที พลรักดี; Kunnatee Ponragdee; อรรถวิทย์ ยางธิสาร; Atthawit Yangtisan; ธนพร บุษบาวไล; Thanaporn Bussabawalai; ดิศรณ์ กุลโภคิน; Disorn Kulpokin; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; อกนิฏฐา พูนชัย; Akanittha Poonchai; สุพัฒศิริ อึ้งมณีภรณ์; Supatsiri Uengmaneeporn; จิรวิชญ์ ยาดี; Jirawit Yadee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-11)
      ความแออัดของโรงพยาบาลรัฐบาลขนาดใหญ่ที่ทำให้ผู้ป่วยรอรับบริการนานเป็นปัญหาเรื้อรังในระบบสุขภาพไทย ซึ่งส่งผลต่อคุณภาพการให้บริการและความพึงพอใจของผู้ป่วย ในปี พ.ศ. 2560 กระทรวงสาธารณสุขประกาศนโยบายลดความแออัดในโรงพยาบาลใหญ่โดยใช้ ...
    • การพัฒนาข้อเสนอตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับสถานพยาบาลและร้านยา 

      สุนทรี วัชรดำรงกุล; Suntaree Watcharadamrongkun; นภาภรณ์ ภูริปัญญวานิช; Naphaphorn Puripunyavanich; กิติยศ ยศสมบัติ; Kitiyot Yotsombut; ตุลาการ นาคพันธ์; Tulakarn Nakpun; บรรณสรณ์ เตชะจำเริญสุข; Bunnasorn Techajumlernsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)
      การใช้ยาอย่างสมเหตุผลถูกกำหนดเป็นยุทธศาสตร์หนึ่งในนโยบายแห่งชาติด้านยาตั้งแต่นโยบายแห่งชาติด้านยาฉบับแรก ในปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้การใช้ยาอย่างสมเหตุผลและการจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพเป็นโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาร้านยาคุณภาพที่เป็นหน่วยร่วมบริการกับคลินิกหมอครอบครัว 

      สุณี เลิศสินอุดม; Sunee Lertsinudom; วัชรพงษ์ รินทระ; Watcharapong Rintara; อุษณีย์ วนรรฆมณี; Usanee Wanakamanee; ชวนชม ธนานิธิศักดิ์; Chuanchom Thananithisak; พจนาลัย อนุสรณ์พาณิชกุล; Podjanalai Anusornpanichakul; เพ็ญทิพา แก้วเกตุทอง; Pentipa Kaewketthong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      บทนำ: การทำงานของคลินิกหมอครอบครัวมีข้อจำกัดคือเภสัชกรไม่เพียงพอ ร้านยาที่เป็นหน่วยร่วมบริการสามารถช่วยเติมเต็มระบบการทำงานด้านเภสัชกรรมให้สมบูรณ์ขึ้น วิธีการวิจัย: วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action ...
    • การออกแบบระบบบริการด้านยาและเวชภัณฑ์สำหรับผู้ป่วยมารับยาที่ร้านยาแผนปัจจุบันประเภท 1 ในพื้นที่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 

      สิริรัตน์ สุวัชรชัยติวงศ์; Sirirat Suwatcharachaitiwong; นิกร ศิริวงศ์ไพศาล; Nikorn Sirivongpaisal; ปราณภา หังสพฤกษ์; Prannapa Hungsaphruek (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-11)
      โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบระบบบริการด้านยาสำหรับโครงการผู้ป่วยรับยาที่ร้านยาใกล้บ้านตามรูปแบบที่ 3 ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในโครงการช่วยลดความแออัดในโรงพยาบาล โดยมุ่งเน้ ...
    • ความพร้อมและการตัดสินใจของร้านยาแหล่งฝึกในการร่วมให้บริการตามกรอบบริการของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      พยอม สุขเอนกนันท์; Phayom Sookaneknun; สุนทรี วัชรดำรงกุล; Suntaree Watcharadamrongkun; สันติภาพ สุขเอนกนันท์; Santiparp Sookaneknun; สุระรอง ชินวงศ์; Surarong Chinwong; สุชาดา สูรพันธุ์; Suchada Soorapan; วิวัฒน์ ถาวรวัฒนยงค์; Wiwat Thavornwattanayong; ปวีณา สนธิสมบัติ; Paweena Sonthisombat; Kornkaew Chanthapasa; กรแก้ว จันทภาษา; ทิพย์สุชน เอี่ยมสะอาด; Tipsuchon Aiamsa-ard; ธีระพงษ์ มนต์มธุรพจน์; Teerapong Monmaturapoj; มนทยา สุนันทิวัฒน์; Montaya Sunantiwat; อัญชลีพร หล่อสุวรรณกุล; Anchaleephorn Losuwannakun; เสถียร พูลผล; Sathian Phunpon; ณัฏฐกัลยา พิพิธวิทยา; Nuttakunlaya Pipitwitaya; กุลนิภา บุญศรี; Kulnipa Boonsri; คะนึงนิตย์ ชูช่วย; Kanuengnit Choochuay; ขัตติยะ มั่งคั่ง; Khattiya Mangkang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-03)
      บทบาทของร้านยาในปัจจุบันกำลังมีการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะในเรื่องการให้บริการอย่างมีส่วนร่วมกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ที่เป็นกลไกการขับเคลื่อนในเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนความต่อเนื่องของการให้บริการ งานวิจัยนี้มีวัตถ ...
    • ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานเติมยาตามใบสั่งยาของเครือข่ายร้านยาจังหวัดลำพูน 

      ปฐวี เดชชิต; Patawee Detchit; นภัสสร หลำรอด; Napatsorn Lhamrod; กฤษกร ธนไพโรจน์; Krissakorn Thanapairoj; สรัญญา สุนันต๊ะ; Saranya Sunanta; นันทวรรณ กิติกรรณากรณ์; Nantawarn Kitikannakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      โครงการลดความแออัดและการรอคอยรับยาที่โรงพยาบาลให้ผู้ป่วยสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเลือกรับยาโรคเรื้อรังต่อเนื่องได้ที่ร้านยาแผนปัจจุบันประเภท 1 ได้ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2562 การประเมินผลการดำเนินงานในระยะที่ผ่านมาพบรา ...
    • ต้นทุนบริการสุขภาพสำหรับการรักษาผู้ป่วยอาการเจ็บป่วยเล็กน้อยที่ร้านยาเปรียบเทียบกับการรักษาแบบผู้ป่วยนอกที่โรงพยาบาล 

      ปรุฬห์ รุจนธำรงค์; Parun Rutjanathamrong; ตวงรัตน์ โพธะ; Tuangrat Phodha; ธนะวัฒน์ วงศ์ผัน; Thanawat Wongphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08-08)
      อาการเจ็บป่วยเล็กน้อย (Common Illness) เป็นกลุ่มอาการเจ็บป่วยที่พบบ่อยในประชาชน ความรุนแรงและความซับซ้อนของโรคน้อย ประชาชนสามารถดูแลรักษาตนเองในเบื้องต้นได้ การรับบริการที่ร้านยาจึงเป็นทางเลือกที่ประชาชนเลือกใช้บริการ ...
    • รับยาที่ร้านยา ทำอย่างไร 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-05)
      Infographic ข้อมูลจากโครงการวิจัย Infographic ข้อมูลจากโครงการวิจัย การประเมินโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล (https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/5445) แสดงขั้นตอนการรับยาที่ร้านยา
    • รับยาที่ร้านยา ลดเสี่ยงโควิด ลดแออัดในโรงพยาบาล 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-05)
      Infographic ข้อมูลจากโครงการวิจัย Infographic ข้อมูลจากโครงการวิจัย การประเมินโครงการนำร่องให้ผู้ป่วยรับยาที่ร้านขายยาเพื่อลดความแออัดในโรงพยาบาล (https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/5445)
    • รูปแบบที่เหมาะสมของการบริหารจัดการด้านยาโดยร้านยาเป็นผู้ดำเนินการภายใต้โครงการลดความแออัดของหน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติโดยร้านยาแผนปัจจุบันประเภท 1 

      สุรสิทธิ์ ล้อจิตรอำนวย; Surasit Lochid-amnuay; ดุรงค์กร พลทม; Durongkorn Pontom (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      ปัจจุบันประเทศไทยได้ดำเนินโครงการลดความแออัดของหน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยร้านยาแผนปัจจุบันประเภท 1 โดยผลักดันให้เกิดรูปแบบการบริหารจัดการด้านยาที่ร้านยาเป็นผู้ดำเนินการเอง ซึ่งมีความคล่องตัว ลดภาระงานข ...
    • แนวทางและความเป็นไปได้ในการถ่ายโอนบริการด้านยาจากโรงพยาบาลสู่ร้านยาชุมชน 

      สมหมาย อุดมวิทิต; Sommai Udomwitid; ธนา สมพรเสริม; Thana Sompornserm; พุฒิพัฒน์ ทวีวชิรพัฒน์; Puttiphat Thaweevachiraphat; ปิยะพรรณ ช่างวัฒนชัย; Piyaphan Changwatchai; วรานันต์ ตันติเวทย์; Waranan Tantiwat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-02)
      ในปัจจุบันปัญหาความแออัดของโรงพยาบาลใหญ่เริ่มมีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น แนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาความแออัดของโรงพยาบาล คือ การเปิดบริการรับยาต่อเนื่องจากร้านยาคุณภาพนอกโรงพยาบาล และจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ...