Now showing items 1-4 of 4

    • การคัดเลือกชุดทดสอบสารหนูภาคสนามสำหรับใช้งานในเขตอำเภอร่อนพิบูลย์ 

      อุไรวรรณ หมัดอ่าดัม; Uraiwan Madardam; วิไลวรรณ พุทธพฤกษ์; ประสิทธิ์ คงทอง; Wilaiwan putttapruk; Prasit Kongthong; โรงพยาบาลร่อนพิบูลย์; Ronpibun Hospital (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2549)
      ปัญหาที่สําคัญของงานสาธารณสุขในปัจจุบันของอำเภอร่อนพิบูลย์ คือ การขาดข้อมูลที่ชี้ให้เห็นถึงการปนเปื้อนของสารหนูหลังจากที่ได้พบการปนเปื้อนสารหนูในน้ำบ่อตื้นในอ.ร่อนพิบูลย์ ตั้งแต่ปีพ.ศ.2529 เป็นต้นมา ได้มีความพยายามในหลายๆ ...
    • การจัดการระบบผลิตน้ำดื่มเพื่อลดปัญหาการปนเปื้อนสารหนูด้วยเทคโนโลยีเมมเบรน 

      พิกุล วณิชาภิชาติ; Phikul Wanichaphichat; พรทิพย์ ศรีแดง; อภิรดี แซ่ลิ่ม; โชโกะ โอชิกาว่า (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      งานวิจัยชิ้นนี้ได้ทำการทดลองโดยการติดตั้งระบบการกรองน้ำผ่านเทคโนโลยีเมมเบรนซึ่งผ่านเยื่อกรอง 2 ชั้น ได้แก่ เยื่อกรองหยาบ 0.5 ไมครอน และเยื่อกรองละเอียดระดับรีเวอรสออสโมซิส ขนาด 4 x 40 นิ้ว ชนิด Polyamide thin film composite ...
    • การเฝ้าระวังการปนเปื้อนของสารหนูในนำบริโภคของตำบลร่อนพิบูลย์ 

      วิไลวรรณ พุทธพฤกษ์; Wilaiwan Puttapruk; ณรงค์ ภมรภู่ศิริกุล; พโยม เสนอินทร์; อุไรวรรณ หมัดอ่าดัม; Narong Pamornpoosirikul; Payome Sanin; Uraiwan Madardam; โรงพยาบาลร่อนพิบูลย์ (โรงพยาบาลร่อนพิบูลย์, 2545)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเฝ้าระวังคุณภาพน้ำประปาและน้ำฝนในเขตพื้นที่ที่เสี่ยงต่อโรคพิษสารหนูในเขตพื้นที่ตำบลร่อนพิบูลย์ อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมีขั้นตอนการศึกษา 1) ตรวจหาปริมาณสารหนูในน้ำประปาทุกระ ...
    • ผลสัมฤทธิ์ของการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการแก้ปัญหาโรคพิษสารหนู อำเภอร่อนพิบูลย์ จังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2548 

      ยุทธนา ศิลปรัสมี; Yuttana Sinlapratsamee; อำพร ณ นิโรจน์; Aumphorn Na Nirojana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      จังหวัดนครศรธรรมราชมีการทำเหมืองแร่ดีบุกเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะในเขต ต.ร่อนพิบูลย์ อ.ร่อนพิบูลย์ จ.นครศรีธรรมราช ที่มีการทำเหมืองแร่ดีบุกมาแล้วมากกว่า 60 ปี ในระยะเวลา 60 ปีนั้นมีการทิ้งน้ำเสียและเศษแร่ลงแม่น้ำเป็นจำนวนมา ...