Now showing items 1-4 of 4

    • การพัฒนานวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับโรคหลอดเลือดสมอง 

      สุภาพร มัชฌิมะปุระ; Supaporn Muchimapura; จินตนาภรณ์ วัฒนธร; Jintanaporn Wattanathorn; สมศักดิ์ เทียมเก่า; Somsak Tiamkao; เทอดไทย ทองอุ่น; Terdthai Tongun; ปณคพร วรรณานนท์; Panakaporn Wannanont; วิภาวี ทูคำมี; Wipawee Tukum-mee; กรรณิการ์ คงบุญเกียรติ; Kannikar Kongbunkiat; นรงฤทธิ์ เกษมทรัพย์; Narongrit Kasemsap; นิศา วรสูต; Nisa Vorasoot; ธนากร ปัญญา; Thanakorn Panya (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      โรคหลอดเลือดสมองเป็นปัญหาสำคัญปัญหาหนึ่งด้านสาธารณสุขส่งผลกระทบอย่างมากต่อค่าใช้จ่ายสาธารณสุขรายปีและคุณภาพชีวิตของประชากรตลอดจนผลิตภาพของประเทศ อย่างไรก็ตามประสิทธิภาพในการรักษาภาวะดังกล่าวยังคงจำกัดเนื่องจากผู้ป่วยจากโ ...
    • การพัฒนาแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับแพทย์และทีมสุขภาพในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในเขต 7 ในรูปแบบเว็บแอพพลิเคชั่น 

      กรรณิการ์ คงบุญเกียรติ; Kannikar Kongbunkiat; สมศักดิ์ เทียมเก่า; Somsak Tiamkao; นรงฤทธิ์ เกษมทรัพย์; Narongrit Kasemsap; นิศา วรสูต; Nisa Vorasoot (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      ภูมิหลังและเหตุผล โรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดเฉียบพลันเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย ทีมสุขภาพจะใช้ข้อมูลจากแนวเวชปฏิบัติของประเทศในการดูแลผู้ป่วย ซึ่งแนวเวชปฏิบัติดั้งเดิมจะอยู่ในรูปแบบสิ่งพิมพ์หรือไฟล์ pdf ...
    • ข้อเสนอเชิงนโยบายการขยายชุมชนลดเค็ม 

      สุประวีณ์ ปภาดากุล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563)
      ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) เพื่อการขับเคลื่อนการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ ระดับส่วนกลาง และเขตพื้นที่ ภายใต้โครงการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญในการพัฒนามาตรการและนโยบายโรคไม่ติดต่อ ปี พ.ศ. 2563 (Fellowship Program on NCDs ...
    • ระยะเวลาการมารับการรักษาของผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือดในจังหวัดอุบลราชธานี 

      พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; ภัทระ แสนไชยสุริยา; Pattara Sanchaisuriya; พิมพ์นิชา เทพวัลย์; Pimnicha Thepphawan (2559-09)
      การรักษาผู้ป่วยภาวะสมองขาดเลือดด้วย rtPA ในระยะเวลาไม่เกิน 3 ชั่วโมง หรือ 180 นาทีหลังเกิดอาการ จะเพิ่มโอกาสหายหรือดีขึ้นได้ ตรงกันข้าม การมารับการรักษาช้าอาจจะนำไปสู่การเกิดความพิการถาวรหรือเสียชีวิตได้ การศึกษาเชิงบรรยายนี้ ...