Now showing items 1-14 of 14

    • Basic research on brain aging, dementia, and Alzheimer’s disease 

      วิภาวรรณ ตั้งนิพนธ์; Wipawan Thangnipon (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-07-22)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมสัมมนาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรื่อง “การพัฒนายุทธศาสตร์งานวิจัยเกี่ยวกับสมอง จิตใจ และพฤติกรรม” (Development of Research Strategies for Brain Mind and Behaviour) จัดโดย สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ...
    • Current strategic research on senile dementia and Alzheimer’s disease in Thailand 

      วรพรรณ เสนาณรงค์; Vorapun Senanarong (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-07-22)
      ภาวะสมองเสื่อมเป็นโรคเรื้อรังที่พบมากในผู้สูงอายุ มีสาเหตุจากความผิดปกติของการทำงานของ สมองด้านความจำและการรู้คิด โดยมีการเสื่อมของความจำเป็นอาการเด่น และมีอาการเปลี่ยนแปลง ทางด้านพฤติกรรมประสาทจิตเวช บุคลิกภาพ และอารมณ์ ...
    • Development of Induced Pluripotent Stem Cells (IPSCs) and transdifferentiation into neural stem cells for brain aging and Alzheimer’s disease 

      นริศร กิติยานันท์; Narisorn Kitiyanant (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-07-23)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมสัมมนาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรื่อง “การพัฒนายุทธศาสตร์งานวิจัยเกี่ยวกับสมอง จิตใจ และพฤติกรรม” (Development of Research Strategies for Brain Mind and Behaviour) จัดโดย สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ...
    • Long-term care of elderly with dementia and Alzheimer’s disease in Thailand 

      สิรินทร ฉันศิริกาญจน; Sirintorn Chansirikarnjana (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-07-22)
      สมองเสื่อมเป็นปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยมากขึ้นในผู้สูงอายุ และจะเป็นปัญหาใหญ่สำหรับ สังคมไทยต่อไปในอนาคตอันใกล้ โดยเฉพาะเมื่อทั้งจำนวนและสัดส่วนของผู้สูงอายุในประเทศ เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด ในขณะที่ครอบครัวเปลี่ยนจากครอบคร ...
    • Strategic review of research on aging, senile dementia and Alzheimer’s disease in Thailand 

      อังสนา โตกิจกล้า; Angsana Tokitkla (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-07-22)
      โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s disease) เป็นโรคสมองเสื่อมซึ่งนับว่าเป็น ปัญหาสำคัญในหลายๆประเทศทั่วโลก องค์การอนามัยโลกได้ชี้ให้เห็นความสำคัญของ โรคอัลไซเมอร์ โดยได้จัดลำดับสาเหตุของการเสียชีวิตของประชากรโลก พบว่า ...
    • การทำนายการเกิดโรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุโดยการตรวจถ่ายภาพเลือดมาเลี้ยงสมองทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ร่วมกับการกระตุ้นการรู้คิด 

      สุภัทรพร เทพมงคล; Supatporn Tepmongkol; สุขเจริญ ตั้งวงษ์ไชย; Sookjaroen Tangwongchai; ชาวิท ตันวีระชัยสกุล; Chavit Tunvirachaisakul; อภิญญ์เพ็ญ สาระยา วสันติวงศ์; Abhinbhen W. Saraya; นิจศรี ชาญณรงค์; Nijasri Charnnarong; อิทธิพล ตะวันกาญจนโชติ; Itthipol Tawankanjanachot (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02)
      ที่มา : การทำนายการเกิดโรคอัลไซเมอร์ในคนที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยมีหลายวิธี แต่มีความแม่นยำไม่มากนัก การใช้การตรวจ Loewenstein-Acevedo Scale for Semantic Interference and Learning (LASSI-L) พบว่า มีความไวสูงในการ ...
    • การพัฒนาชุดตรวจคัดกรองโรคสมองเสื่อมอย่างรวดเร็วเพื่อนำไปสู่การพึ่งพาตนเองและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ปีที่ 1 

      ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560)
      โรคสมองเสื่อมอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s disease) เป็นโรคในกลุ่มของ age-associated neurodegenerative diseases ชนิดหนึ่งที่มักเกิดขึ้นในผู้สูงวัย โดยมีจำนวนผู้ป่วยทั่วโลกเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การตรวจวินิจฉัยโรคสมองเสื่อมอัล ...
    • การพัฒนาชุดตรวจคัดกรองโรคสมองเสื่อมอย่างรวดเร็วเพื่อนำไปสู่การพึ่งพาตนเองและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ปีที่ 2 

      ประพิมพรรณ วงศ์จิตรัตน์; Prapimpun Wongchitrat; อมรา อภิลักษณ์; Amara Apilux; ธนาวุฒิ ตันติมงคลวัฒน์; Tanawut Tantimongcolwat; กมลรัตน์ โพธิ์ปิ่น; Kamonrat Phopin; วิลาสินี สุวรรณจ่าง; Wilasinee Suwanjang; สุมนา กลัดสมบูรณ์; Sumana Kladsomboon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-01)
      เนื่องจากประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งผู้สูงอายุมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคสมองเสื่อมรวมถึงโรคอัลไซเมอร์ การตรวจวินิจฉัยที่รวดเร็วมีความสำคัญในการป้องกันและรักษาสุขภาพของประชาชน ดังนั้นงานวิจัยนี้มุ่งเน้นการพัฒ ...
    • การวินิจฉัยโรคสมองเสื่อมอัลไชเมอร์ตั้งแต่ระยะเริ่มต้น 

      โยธิน ชินวลัญช์; Yotin Chinvarun (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-07-22)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมสัมมนาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรื่อง “การพัฒนายุทธศาสตร์งานวิจัยเกี่ยวกับสมอง จิตใจ และพฤติกรรม” (Development of Research Strategies for Brain Mind and Behaviour) จัดโดย สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ...
    • ประสิทธิภาพของการรักษาด้วยการใช้ยาและไม่ใช้ยาในโรคสมองเสื่อมอัลไซเมอร์: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์อภิมานเครือข่าย 

      จิตติมา บุญเกิด; Chitima Boongird; อัมรินทร์ ทักขิณเสถียร; Ammarin Thakkinstian; วันนิษา วงษ์พิพัฒน์พงษ์; Wannisa Wongpipathpong; วรพงษ์ เธียรอุกฤษฏ์; Worapong Tearneukit; ธัญญรัตน์ อโนทัยสินทวี; Thunyarat Anothaisintawee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-04)
      โรคอัลไซเมอร์เป็นสาเหตุที่สำคัญของโรคสมองเสื่อมในปัจจุบันที่กำลังเพิ่มขึ้นทั่วโลก แนวทางการรักษาโรคสมองเสื่อมอัลไซเมอร์ในปัจจุบันประกอบด้วย การรักษาด้วยการใช้ยาและไม่ใช้ยา ซึ่งมีงานวิจัยที่ศึกษาเป็นจำนวนมากเกี่ยวกับการรั ...
    • ประโยชน์ของการตรวจเพทสแกนด้วย [F-18] Florbetapir ([F-18]-AV-45) เพื่อประเมินการสะสมของ amyloid ในสมองในผู้ป่วยสมองเสื่อมจากโรคอัลไซเมอร์, ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติเล็กน้อยของความสามารถของสมองและผู้สูงอายุปกติ (รายงานวิจัยปีที่ 2) 

      ธัญญลักษณ์ เธียรธัญญกิจ; Tanyaluck Thientunyakit; วีรศักดิ์ เมืองไพศาล; Weerasak Muangpaisan; อรสา ชวาลภาฤทธิ์; Orasa Chawalparit; รุจพร ชนะชัย; Rujaporn Chanachai; จักรมีเดช เศรษฐนันท์; Chakmeedaj Sethanandha; ยุทธพล วิเชียรอินทร์; Yudthaphon Vichianin; กันตรัตน์ อรุณรุ่งวิเชียร; Kuntarat Arunrungvichian (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-11)
      วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประโยชน์ของการตรวจการสะสมของ Aβ ในสมองโดยอาศัยการตรวจเพทสแกนด้วยสารเภสัชรังสีในประชากรตัวอย่าง 3 กลุ่ม ได้แก่ ผู้ป่วย Alzheimer’s disease, ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติเล็กน้อยของการรู้คิดสมอง และผู้สูงอายุปกติ ...
    • ประโยชน์ของการตรวจเพทสแกนด้วย F-18 florbetapir (F-18-AV-45) เพื่อประเมินการสะสมของ amyloid ในสมองในผู้ป่วยสมองเสื่อมจากโรคอัลไซเมอร์, ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติเล็กน้อยของความสามารถของสมองและผู้สูงอายุปกติ 

      ธัญญลักษณ์ เธียรธัญญกิจ; Tanyaluck Thientunyakit; วีรศักดิ์ เมืองไพศาล; Weerasak Muangpaisan; อรสา ชวาลภาฤทธิ์; Orasa Chawalparit; รุจพร ชนะชัย; Rujaporn Chanachai; จักรมีเดช เศรษฐนันท์; Chakmeedaj Sethanandha; ยุทธพล วิเชียรอินทร์; Yudthaphon Vichianin; กันตรัตน์ อรุณรุ่งวิเชียร; Kuntarat Arunrungvichian (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-11)
      ภูมิหลังและที่มา อุบัติการณ์ของภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไปมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบอย่างมากต่อคุณภาพชีวิตทั้งตัวผู้ป่วย ครอบครัว และจะเป็นปัญหาที่สำคัญของเศรษฐกิจ สังคมและการพัฒนาประเทศ ...
    • สมองเสื่อม ป้องกันได้ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-10)
      “อัลไซเมอร์” โรคสมองเสื่อมที่พบบ่อยสุด โรคสมองเสื่อมมีหลายภาวะ บางกรณีอาจเกิดจากเนื้องอกในสมอง การติดเชื้อในสมอง น้ำในสมองมากเกินไป ฯลฯ ทำให้หลอดเลือดตีบตัน ซึ่งโรคอัลไซเมอร์คือ ภาวะสมองเสื่อมประเภทหนึ่งที่พบบ่อยสุด ...
    • แนวทางใหม่ในการประเมินและวินิจฉัยภาวะสมองเสื่อมและโรคอัลไซเมอร์ 

      ก้องเกียรติ กูณฑ์กันทรากร; Kongkiat Kulkantrakorn (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-07-22)
      ภาวะสมองเสื่อมเป็นภาวะที่พบได้บ่อยในเวชปฏิบัติ และมีแนวโน้มสูงขึ้นตามโครงสร้าง ประชากรที่เปลี่ยนแปลงที่มีผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยโรคอัลไซเมอร์เป็นสาเหตุที่พบ บ่อยที่สุด ผู้ป่วยมีความบกพร่องด้านสมรรถภาพสมองในหลายด้าน ...