• HSRI-FORUM ปีที่ 1 ฉบับที่ 4 : บทเรียนจากประสบการณ์ มหาอุทกภัย 2554 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      HSRI FORUM ฉบับเดือนกันยายนนี้ นำเสนอประเด็นปัญหาการเตรียมความพร้อมเพื่อ รองรับกับภาวะน้ำท่วมเป็นเรื่องหลัก โดยเฉพาะเนื้อหาที่เกี่ยวกับแนวคิดการรับมือภัยพิบัติใน ขอบเขตบริการการแพทย์และสาธารณสุข หลายหน่วยงานของกระทรวงส ...
    • R2R เมื่อยามน้ำนอง (มองโจทย์ R2R ยามน้องน้ำมาเยือน) 

      โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2555-07-10)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากงานประจำสู่งานวิจัยครั้งที่ 5 “วิถี R2R: เรียบง่าย คุณภาพ ครบวงจร” วันที่ 10 - 12 กรกฎาคม 2555 ณ ศูนย์การประชุมอิมแพ็คฟอรั่ม เมืองทองธานี
    • การสำรวจครัวเรือนที่ประสบภัยในพื้นที่น้ำท่วม ช่วงเดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2554 

      กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555)
      สำนักงานสถิติแห่งชาติ ได้ร่วมมือกับสำนักงานนโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (Thailand health policy program : IHPP) และภาคี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน และ World health organization) ในการสำรวจครัวเรือนที่ปร ...
    • ทบทวนวรรณกรรมน้ำท่วมกับสุขภาพ 

      วิทย์ วิชัยดิษฐ์; วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย (สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ, 2556-08-07)
      เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการวิชาการสังคมและสุขภาพ ประจำปี 2556 เรื่อง แนวรบสุขภาพ: พรมแดนวัฒนธรรมกับการรุกของทุน (Frontiers of Health: Cultural Borders and the Dominance of Capital) หัวข้อย่อย ภัยพิบัติ: ...
    • ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการคงอยู่ของภาวะเครียดหลังอุทกภัยในจังหวัดอ่างทอง 

      สุรพันธ์ วิชิตนาค; Surapun Wichitnak; สมถวิล สินธุประสิทธิ์; Somtawin Sintuprasit; ปาจรีย์ สาระลุก; Pajaree Saralook; จุฑามาศ ผดุงญาติ; Jutamad Padungyat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      เหตุการณ์อุทกภัยทำให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อนจากความเสียหายของทรัพย์สินจำนวนมาก แม้ได้มีหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนให้ความช่วยเหลือ แต่ความรู้สึกสูญเสียของประชาชน ซึ่งยังเผชิญกับภาวะน้ำท่วมขังได้ก่อให้เกิดปัญหาความเครีย ...
    • ภัยพิบัติ ความทรงจำและความหวัง : พลังน้ำใจในมหาอุทกภัย 2554 

      บารมี เต็มบุญเกียรติ; เริงฤทธิ์ คงเมือง; อธิษฐ์ พีระวงษ์เมธา; จันทร์กลาง กันทอง; อรุณ ร้อยศรี; เริงชัย คงเมือง; บัณฑิต โชติสุวรรณ; วิษณุ วิเศษพุทธศาสน์ (สุขศาลา, 2555-10)
      การสร้างสรรค์ความรู้ของมนุษย์นั้น นอกจากการสังเกตเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็นประจำและสม่ำเสมอ จนสามารถเข้าใจถึงความเปลี่ยนแปลงที่มีแบบมีแผนแล้ว มนุษย์ยังเรียนรู้จากสถานการณ์สุดโต่งหรืออุบัติการณ์ที่คาดไม่ถึง อันเป็นกรณีที่ผิ ...
    • มหาอุทกภัยปี 2554 : บทเรียนจากประสบการณ์ 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-08)
      ปัญหาอุทกภัยปี พ.ศ. 2554 ได้สร้างความเสียหายแก่ประเทศและประชาชนจำนวนมาก แม้ว่าหน่วยงานต่างๆ จะได้พยายามอย่างเต็มที่ในการเยียวยาความเดือดร้อนดังกล่าว เมื่อปัญหาดังกล่าวทุเลาลงหน่วยงานหลายภาคส่วนจึงให้ความสนใจถอดบทเรียนเพื ...
    • สังเคราะห์บทเรียนการรับมือมหาอุทกภัย 2554 

      คณะทำงานสังเคราะห์บทเรียนการรับมืออภิมหาอุทกภัย 2554 (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-09)
      เพื่อแปรวิกฤตมหาอุทกภัย พ.ศ. 2554 ให้เป็นโอกาส ระหว่างเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน 2555 คณะทำงานสังเคราะห์บทเรียนฯ ได้สืบค้นหลักฐานจากแหล่งต่างๆ ทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ แล้วประชุมคณะทำงานเพื่อวิเคราะห์เรียบเรียงเป็นรายงาน ...
    • อุทกภัยในกรุงเทพมหานครและภาคกลางของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2554: ความท้าทายต่อความยืดหยุ่นของระบบสุขภาพ 

      ชาฮีดา วิริยาทร; Shaheda Viriyathorn; เยาวลักษณ์ แหวนวงษ์; Yaowaluk Wanwong; สุลัดดา พงษ์อุทธา; Suladda Pongutta; นพคุณ ธรรมธัชอารี; Noppakun Thammatacharee; คนางค์ คันธมธุรพจน์; Kanang Kantamaturapoj; ระพีพงศ์ สุพรรณไชยมาตย์; Rapeepong Suphanchaimat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-03)
      อุทกภัยในปี พ.ศ. 2554 ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อพื้นที่กรุงเทพมหานครและภาคกลางของประเทศไทย นับเป็นความท้าทายที่สำคัญต่อความยืดหยุ่นของระบบสุขภาพไทยในการรับมือกับภาวะวิกฤติในครั้งนั้น การศึกษานี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาว่าระบบสา ...