Now showing items 1-2 of 2

    • การจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อสนับสนุนการพัฒนาแนวปฏิบัติและแนวทางการติดตามประเมินผลของระบบการแพทย์ทางไกล ผ่านการถอดบทเรียนในบริบทไทยและบริบทโลก 

      วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; นิธิเจน กิตติรัชกุล; Nitichen Kittiratchakool; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ปภาดา ราญรอน; Papada Ranron; เบญจมพร เอี่ยมสกุล; Benjamaporn Eiamsakul; ปิยดา แก้วเขียว; Piyada Gaewkhiew; โชติกา สุวรรณพานิช; Chotika Suwanpanich; เฌอริลิณญ์ ประทุมสุวรรณ์; Sherilyn Pratumsuwan; ธนกิตติ์ อธิบดี; Thanakit Athibodee; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesophon; จิราธร สุตะวงศ์; Jiratorn Sutawong; ธนัยนันท์ ชวนไชยะกูล; Tanainan Chuanchaiyakul; Dabak, Saudamini Vishwanath; Prakash, Annapoorna; Chavarina, Kinanti Khansa; Myint, Aye Nandar; Liu, Sichen (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-01)
      ภูมิหลัง : การแพทย์ทางไกลหรือโทรเวช (Telemedicine) ถือเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณสุขบนโลกดิจิทัล (Digital Health) โดยเป็นความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่ช่วยส่งเสริมให้การให้บริการทางการแพทย์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ...
    • รูปแบบการอภิบาลระบบสุขภาพดิจิทัล: ข้อเสนอสำหรับระบบสุขภาพไทย 

      บุญชัย กิจสนาโยธิน; Boonchai Kijsanayotin; กมนต์ภรณ์ สุวรรณทวีมีสุข; Kamonporn Suwanthaweemeesuk; อนวัช รัชธร; Anawat Ratchatorn; เทียม อังสาชน; Tiem Ungsachon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      ความเป็นมา ผลการศึกษาระบบสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ของไทย (eHealth in Thailand) ในปี พ.ศ. 2553 โดยกระทรวงสาธารณสุขและองค์การอนามัยโลกประจำประเทศไทยพบว่า ประเทศไทยยังไม่มีกลไกการอภิบาลระบบข้อมูลสุขภาพหรือระบบสุขภาพดิจิทัล ...