Now showing items 1-18 of 18

    • การทำนายผลการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดโดยใช้การวิเคราะห์ระดับทรานสคริปโตมิกส์และโปรตีโอมิกส์ในผู้ป่วยมะเร็งปอด 

      ปฤษณา เรืองรัตน์; Pritsana Raungrut; ปารมี ทองสุกใส; Paramee Thongsuksai; ณรงค์วิทย์ นาขวัญ; Narongwit Nakwan; ฑิตยา บุญส่ง; Thitaya Bunsong; ทิดารัตน์ รักเลิศ; Thidarat Ruklert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)
      มะเร็งปอดชนิดอะดีโนคาร์ซิโนมามีอุบัติการณ์การเกิดและการตายสูงเป็นลำดับต้นๆ ของประชากรโลก ยาเคมีบำบัดยังคงเป็นส่วนสำคัญในการรักษา แต่อย่างไรก็ตามอัตราการตอบสนองต่อการรักษาก็ยังต่ำ การศึกษาในครั้งนี้จึงมุ่งเน้นไปที่ค้นหาโป ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจคัดกรองทารกที่มีโครโมโซมผิดปกติในครรภ์ก่อนคลอดในประเทศไทย 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ปรีชญา วงษ์กระจ่าง; Preechaya Wongkrajang; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; เสริมสิริ แสงรุ่งเรืองศรี; Sermsiri Sangroongruangsri; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      ประเทศไทยมีรายงานอุบัติการณ์ของโรคโครโมโซมผิดปกติ เช่น กลุ่มอาการดาวน์ในทารกแรกเกิดอยู่ระหว่าง 1 : 800 ถึง 1 : 1,000 โดยพบความเสี่ยงเพิ่มขึ้นตามอายุของมารดา อย่างไรก็ตามร้อยละ 75-80 ของทารกแรกเกิดที่มีอาการดาวน์นั้นพบว่า ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจทางพันธุกรรมเพื่อใช้ในการตรวจวินิจฉัยภาวะพาหะธาลัสซีเมียในคู่สามีภรรยาในประเทศไทย 

      อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; Usa Chaikledkaew; จิระพรรณ จิตติคุณ; Jiraphun Jittikoon; ภัทรวลัย ตลึงจิตร; Pattarawalai Talungchit; ปรีชญา วงษ์กระจ่าง; Preechaya Wongkrajang; ขวัญดาว มาลาสาย; Khuandao Malasai; เสริมสิริ แสงรุ่งเรืองศรี; Sermsiri Sangroongruangsri; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      ความชุกของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียพบได้ประมาณร้อยละ 1 ของประชากรทั้งหมด โดยมีผู้ที่เป็นพาหะของโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียประมาณร้อยละ 30-40 จึงสามารถประมาณการได้ว่าจะพบผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงรายใหม่ 5,125 คน ...
    • การศึกษาความแปรผันทางพันธุกรรมในอาสาสมัครผู้ป่วยโรคอ้วนชาวไทย เพื่อพัฒนาคะแนนความเสี่ยงทางพันธุกรรมสำหรับประเมินความรุนแรงทางคลินิก และการตอบสนองต่อการรักษาอย่างจำเพาะบุคคล 

      ชาติชาย ไชยชนะ; Chartchai Chaichana; พรพจน์ เปรมโยธิน; Pornpoj Pramyothin; วันจันทร์ ดีคุ้ม; Wanjan Deekum; นันทา คุมคณะ; Nanta Khumkhana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      โรคอ้วนได้กลายเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่ร้ายแรงที่สุดปัญหาหนึ่งของโลก เนื่องจากสาเหตุของโรคอ้วนนั้นซับซ้อนและมีหลายปัจจัย การวิจัยยุคใหม่เปิดเผยให้เห็นการควบคุมโรคอ้วนอย่างมีประสิทธิภาพผ่านปฏิสัมพันธ์ของยีนและโภชนาการ ...
    • การศึกษาภาวะพหุสัณฐานของนิวคลีโอไทด์เดี่ยวที่พบบ่อยในผู้ป่วยโรคเรื้อรังของประเทศไทยโดยใช้ชิป 

      ทัศมลวรรณ ไชยสังข์; Tassamonwan Chaiyasung; สุรัคเมธ มหาศิริมงคล; Surakameth Mahasirimongkol; ปุณณา คุณหพันธ์; Punna Kunhapan; จักรกฤษณ์ เอื้อสุนทรวัฒนา; Jakris Eu-ahsunthornwattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      การศึกษาภาวะพหุสัณฐานของนิวคลีโอไทด์เดี่ยวที่พบบ่อยในผู้ป่วยโรคเรื้อรังของประเทศไทยโดยใช้ชิป เป็นโครงการที่ดำเนินการศึกษาในกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 1,800 ตัวอย่าง โดยในปีที่ 1 รับตัวอย่างจาก 4 โครงการ เพื่อดำเนินการ ...
    • การศึกษาวิทยาภูมิคุ้มกันและอณูพันธุศาสตร์ของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ได้รับการวินิจฉัยก่อนอายุ 30 ปี ในประเทศไทย 

      ณัฐเชษฐ์ เปล่งวิทยา; Nattachet Plengvidhya; วทิพย์ ตั้งจิตติโภคิน; Watip Tangjittipokin; ทัศนีย์ นาคดนตรี; Tassanee Narkdontri; นิภาภรณ์ ธีระวัฒนพงศ์; Nipaporn Teerawatanapong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      ในปัจจุบันประเทศไทยยังไม่มีการศึกษาข้อมูลทางระบาดวิทยาเกี่ยวกับโรคเบาหวานที่วินิจฉัยก่อนอายุ 30 ปี ในระยะยาว การศึกษาในเด็กและวัยรุ่นชาวไทยได้รับการตีพิมพ์เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 5 ปี มาแล้ว ข้อมูลการศึกษาล่าสุดมีแนวโน้มพบว่า ...
    • การศึกษาหารหัสพันธุกรรมที่มีความสัมพันธ์กับการติดกัญชาในกลุ่มประชากรไทย 

      พีรนิธ กันตะบุตร; Piranit Kantaputra; ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา; Thiravat Hemachudha; สรายุทธ์ บุญชัยพานิชวัฒนา; Sarayuth Boonchaipanitwattana; ล่ำซำ ลักขณาภิชนชัช; Lumsum Lukanapichonchut; สมชาย ธนะสิทธิชัย; Somchai Thanasitthichai; สำเนา นิลบรรพ์; Sumnao Nilaban; ธนพัฒน์ ศาสตระรุจิ; Thanapat Sastraruji; อลิษา วิลันโท; Alisa Wilantho; ชุมพล งามผิว; Chumpol Ngamphiw; วอทันยู นครศรี; Vorthunju Nakhonsri; ศิษเฎศ ทองสิมา; Sissades Tongsima (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      จุดประสงค์ของการวิจัย คือ ต้องการหาการเปลี่ยนแปลงในยีนที่มีความสัมพันธ์กับการติดกัญชาในคนไทย โดยศึกษาในคนไทยที่ติดกัญชา จำนวน 144 คน และคนที่มีประวัติการใช้กัญชาแต่ไม่ติด จำนวน 20 คน ซักประวัติและเก็บเลือดหรือน้ำลายเพื่อไปสกัด ...
    • การศึกษาเภสัชพันธุศาสตร์และเภสัชจลนศาสตร์ของกรดมัยโคฟีโนลิคและแมทาบอไลท์ 

      ณัฐ คูณรังษีสมบูรณ์; Nut Koonrungsesomboon; ดำเนินสันต์ พฤกษากร; Dumnoensun Pruksakorn; มิ่งขวัญ ณ ตะกั่วทุ่ง; Mingkwan Na Takuathung; ศิริพงษ์ ตองใจ; Siripong Tongjai; ภรัณยา ชัยวัฒน์; Parunya Chaiyawat; สาลินี จันทราภิรมย์; Salinee Jantrapirom; ปารเมศ เทียนนิมิตร; Parameth Thiennimitr; ศุภนิมิต ทีฆชุณหเถียร; Supanimit Teekachunhatean (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      กรดมัยโคฟีโนลิค (MPA) เป็นยากดภูมิคุ้มกันที่ใช้ในการป้องกันการต่อต้านการปลูกถ่ายอวัยวะและอยู่ระหว่างการศึกษาประสิทธิผลของยาต่อการต้านมะเร็งกระดูกออสทิโอซาร์โคมา อย่างไรก็ตาม พบว่า ผู้ที่ได้รับยาชนิดนี้แต่ละคนมีค่าเภสัชจล ...
    • การศึกษาแบคทีเรียและโปรตีโอมน้ำลายที่จำเพาะกับโรคปริทันต์ในผู้ป่วยที่เป็นโรคพันธุกรรมภูมิคุ้มกันหายาก (ปี 2564) 

      ฑัณฑริรา พรทวีทัศน์; Thantrira Porntaveetus; นรินทร์ อินทรักษ์; Narin Intarak; ธนากร ธีรภานนท์; Thanakorn Theerapanon; เสริมพร ทวีทรัพย์พิทักษ์; Sermporn Thaweesapphithak; ทิตยา ไชยบุญญารักษ์; Thitaya Chaiboonyarak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-11)
      โรคปริทันต์เป็นปัญหาที่พบบ่อยในประชากรทั่วไปโดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีโรคพันธุกรรมภูมิคุ้มกัน ซึ่งเป็นโรคที่เรื้อรังส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต เนื่องจากความรู้ความเข้าใจในลักษณะทางช่องปากของผู้ป่วยโรคพันธุกรรมภูมิคุ้มกันมีอยู่อย่างจำกัด ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายและแนวทางปฏิบัติในการตรวจทางชีวโมเลกุลเพื่อแยกเชื้อไวรัสที่มีความสามารถในการแพร่เชื้อได้ออกจากซากเชื้อไวรัสโคโรนาซาร์-2 

      บุญรัตน์ ทัศนีย์ไตรเทพ; Boonrat Tassaneetrithep; อังสนา ภู่เผือกรัตน์; Angsana Phuphuakrat; เอกวัฒน์ ผสมทรัพย์; Ekawat Pasomsub; อรุณี ธิติธัญญานนท์; Arunee Thitithanyanont; สิรวัฒน์ ศรีฉัตราภิมุข; Sirawat Srichatrapimuk; ศุภโชค เกิดลาภ; Suppachok Kirdlarp; สุรเดช หงส์อิง; Suradej Hongeng; นวลจันทร์ วิจักษณ์จินดา; Nuanjun Wichukchinda; อาทิตย์ วงค์ษา; Artit Wongsa (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      การตรวจหาสารพันธุกรรมของไวรัสโคโรนาซาร์โควี-2 ตามที่องค์การอนามัยโลกแนะนำ คือ วิธี real-time PCR แต่วิธีการตรวจดังกล่าวไม่สามารถแยกเชื้อเป็นกับซากเชื้อออกจากกันได้ คณะผู้วิจัยได้พัฒนาการออกแบบการตรวจวัดปริมาณสารพันธุกรรม ...
    • การแสดงออกของไมโครอาร์เอ็นเอในผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี 

      วรรณา ชัยเจริญกุล; Wanna Chaijaroenkul; เกศรา ณ บางช้าง; Kesara Na-Bangchang; ตุลยากร เปล่งสุริยการ; Tullayakorn Plengsuriyakarn; มยุรี ธาราสุข; Mayuri Tarasuk; กัลยรัตน์ บุญประเสริฐ; Kanyarat Boonprasert; นิภาวรรณ ลาภบุญเรือง; Nipawan Labbunruang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      โรคมะเร็งท่อน้ำดีเป็นปัญหาที่สำคัญทางสาธารณสุขของประเทศไทยโดยเฉพาะบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มะเร็งชนิดนี้มีความรุนแรงมากเนื่องจากไม่มีเครื่องมือในการวินิจฉัยระยะเริ่มแรกและผลการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดมีการตอบสนองไม่ดี ...
    • ข้อมูลรหัสพันธุกรรม คืออะไร 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. หน่วยงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการบูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย; Health Systems Research Institute. Genomics Thailand Coordinating Unit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-30)
      รหัสพันธุกรรมของมนุษย์ เป็นพิมพ์เขียวที่กำหนดว่าเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆ ในร่างกายของคนเราแต่ละคน ควรมีการทำงานอย่างไร รหัสพันธุกรรมนี้อยู่ในดีเอ็นเอ (DNA) และ อาร์เอ็นเอ (RNA) ภายในเซลล์ต่างๆ ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อแม่ ...
    • จีโนมิกส์ ประเทศไทย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      Infographic แนะนำแผนงานจีโนมิกส์ ประเทศไทย (Genomics Thailand) การแพทย์จีโนมิกส์ คือ การแพทย์ที่อาศัยเทคโนโลยีพันธุศาสตร์ระดับโมเลกุล เพื่อประเมินความเสี่ยง วินิจฉัย และพยากรณ์โรค วิสัยทัศน์ คือ ประเทศไทยเป็นผู้นำด้านการ ...
    • ทราบได้อย่างไรว่ามะเร็งเต้านมที่เป็นอยู่มีสาเหตุมาจากการถ่ายทอดทางพันธุกรรมหรือไม่ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. หน่วยงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการบูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย; Health Systems Research Institute. Genomics Thailand Coordinating Unit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-30)
      การวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งเต้านมและมีลักษณะทางคลินิกอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 1. อายุเมื่อแรกวินิจฉัยไม่เกิน 45 ปี 2. อายุเมื่อแรกวินิจฉัยระหว่าง 40-50 ปี และมีญาติใกล้ชิด อย่างน้อย 1 คน เป็นมะเร็งเต้านม มะเร็งตับอ่อน ...
    • ธนาคารออกานอยด์มะเร็งตับและท่อน้ำดีไทย และฐานข้อมูลพันธุกรรมเชิงลึกสำหรับการหาตัวชี้วัดชีวภาพและพัฒนาการรักษาแบบจำเพาะต่อผู้ป่วย 

      นิพัญจน์ อิศรเสนา ณ อยุธยา; Nipan Israsena Na Ayudhaya; พิสิฐ ตั้งกิจวานิชย์; Pisit Tangkijvanich; สิระ ศรีสวัสดิ์; Sira Sriswasdi; แพรวพรรณ อิงรุ่งเรืองเลิศ; Praewphan Ingrungruanglert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)
      มะเร็งตับเป็นปัญหาสำคัญของประเทศ การรักษาปัจจุบันยังได้ผลไม่ดีเท่าที่ควร ทำให้มีผู้ป่วยจำนวนมากเสียชีวิตจากโรคนี้ เมื่อไม่นานมานี้เกิดเทคโนโลยีใหม่ทำให้สามารถเพาะมะเร็งตับของผู้ป่วยในรูปแบบสามมิติที่เรียกว่าออกานอยด์ ...
    • นำร่องการวิจัยสำหรับจีโนมิกส์ประเทศไทย: การศึกษาข้อมูลรหัสพันธุกรรมของผู้ป่วยมะเร็งชาวไทย 

      มานพ พิทักษ์ภากร; Manop Pithukpakorn; ชนพ ช่วงโชติ; Shanop Shuangshoti; ชินโชติ ธีรภัคภิญโญ; Chinachote Teerapakpinyo; นุสรา สัตย์เพริศพราย; Nusara Satproedprai; วสันต์ จันทราทิตย์; Wasun Chantratita; จันทนา ผลประเสริฐ; Chantana Polprasert (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของประชากรไทย โดยมะเร็งเกิดจากความผิดปกติทางพันธุกรรมของเซลล์ การกลายพันธุ์ของยีนก่อมะเร็งที่พบสามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด อันได้แก่ การกลายพันธุ์ที่เกิดขึ้นเองในเนื้อเยื่อปกติ (somatic ...
    • วิจัยสู่ชุดสิทธิประโยชน์ ตรวจยีนมะเร็งเต้านม บริการการแพทย์แม่นยำเพื่อคนไทย 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. หน่วยงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการบูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย; Health Systems Research Institute. Genomics Thailand Coordinating Unit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03-30)
      โครงการวิจัยการประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจยีน BRCA1/BRCA2 ในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมและมะเร็งรังไข่ เพื่อตรวจหาผู้ที่เป็นมะเร็งที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมในประเทศไทย เป็นงานวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสถาบัน ...
    • แผนปฏิบัติการ บูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย Genomics Thailand (พ.ศ. 2563-2567) 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      Infographic แผนปฏิบัติการ แผนงานจีโนมิกส์ ประเทศไทย (Genomics Thailand) พ.ศ. 2563-2567