Now showing items 1-6 of 6

    • กฏหมายความปลอดภัยทางชีวภาพ 

      เจษฎ์ โทณะวณิก; Chat Tonawanik (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่มีความก้าวหน้ามากในปัจจุบันนี้ ไม่ว่าจะในทางการแพทย์ การเกษตร หรือแม้กระทั่งด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีที่ว่านี้ได้ถูกนำมาสร้างสรรค์นวัตกรรมขึ้นมากมาย เช่น สิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรมในรูปแบบต่างๆ ...
    • การสังเคราะห์ความรู้เพื่อสนับสนุนการยกร่างธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพ : (ประเด็นที่ 9 : การสร้างและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านสุขภาพ ประเด็นที่ 10 : การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ) 

      ดวงพร คำนูณวัฒน์; Duangporn Kumnoonwan; กุลธิดา จันทร์เจริญ; สุกัญญา เสรีนนท์ชัย; Kultida Chancharoen; Sukanya Serinonchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      ตามที่สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) และ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ร่วมกับเครือข่ายสุขภาพและภาคประชาชน ได้ร่วมกันผลักดันการปฏิรูประบบสุขภาพมาตั้งแต่ พ.ศ.2542 ความพยายามดังกล่าวสัมฤทธิ์ผลเป็นรูปธรรมประการหนึ่ง ...
    • การเพิ่มศักยภาพและการวางยุทธศาสตร์ประเทศไทยในการดำเนินโครงการ CDM 

      สุธาวัลย์ เสถียรไทย; Suthawan Sathirathai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      รายงานการวิจัย เรื่อง “การเพิ่มศักยภาพและการวางยุทธศาสตร์ประเทศไทยในการดำเนินโครงการ CDM” มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเสนอยุทธศาสตร์ในการดำเนินโครงการกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) ของประเทศไทยโดยเฉ ...
    • ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ: มิติทางกฏหมาย 

      ไพศาล ลิ้มสถิตย์; Paisan Limstit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
      รายงานวิจัย ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ: มิติทางกฎหมาย ศึกษาธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 ซึ่งถูกกำหนดให้เป็นกรอบและแนวทางกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์และการดำเนินงานด้านสุขภาพของประเทศคือ ...
    • ภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท 

      สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; Suwit Wibulpolprasert (อุษาการพิมพ์, 2547)
      ภูมิปัญญาไทย สุขภาพวิถีไท เป็นหนังสือรวบรวมผลงานการศึกษา 5 ประเด็นหลัก ในการประชุมวิชาการประจำมีการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก พ.ศ. 2547 ได้แก่ 1. ทิศทางและยุทธศาสตร์การสร้างและการจัดการองค์ความ ...
    • แนวความคิดเรื่องความชอบธรรม 

      ธเนศ วงศ์ยานนาวา; Thanate Wongyannawa (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      แนวคิดเรื่องความชอบธรรม (The concept of legitimacy) บทนำ ความจำเป็นที่ฟุ่มเฟือยขององค์กรทางการเมือง บทที่ 1 สภาวะสมัยใหม่กับความชอบธรรม บทที่ 2 รัฐและการสร้างความชอบธรรมด้วยตนเอง บทที่ 3 ความชอบธรรม: ความเชื่อ อุดมการณ์ ...