Now showing items 1-5 of 5

    • การพัฒนารูปแบบการดูแลเด็กโรคสมาธิสั้นแบบบูรณาการระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ ผู้ปกครอง และครู ในเขตภาคเหนือ 

      สมัย ศิริทองถาวร; Samai Sirithongthaworn; เพ็ญกาญจน์ กาญจนรัตน์; Penkarn Kanjanarat; ภิญโญ อิสรพงศ์; Pinyo Itsarapong; สุรีรักษ์ พิลา; Sureerak Pila; พัชนี พัฒนกิจโกศล; Patchanee Pattanakitkosol; วรรณกมล สอนสิงห์; Wannakamol Sonsingh; สกนธ์ สุภากุล; Sakon Supakul; กชพงศ์ สารการ; Kotchapong Sarakan; นุจรี คำด้วง; Nootjaree Kamduang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)
      ที่มาและความสำคัญ โรคสมาธิสั้นเป็นมีความชุกมากที่สุดเมื่อเทียบกับโรคทางสุขภาพจิตอื่นๆ ในเด็กวัยประถมศึกษา การดูแลร่วมกันระหว่างผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการแพทย์มีความจำเป็นอย่างยิ่ง ในการลดความรุนแรงของอาการและปัญหาเชิง ...
    • ทำความรู้จักโรคสมาธิสั้น 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)
      โรคสมาธิสั้น เป็นโรคที่เกิดจากความบกพร่องของพัฒนาการ ในประเทศไทยพบความชุกของโรคในเด็กนักเรียนชั้น ป.1-5 ถึงร้อยละ 8.1 ประมาณการได้ว่ามีเด็กนักเรียนชั้น ป.1-5 ทั่วประเทศป่วยเป็นโรคสมาธิสั้นถึง 1 ล้านคน และมักพบในเด็กชายมา ...
    • พ่อแม่เข้าใจ จุดเริ่มต้นใหญ่ของการแก้ปัญหาเด็กสมาธิสั้น 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)
      เด็กโรคสมาธิสั้น จำเป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือจากครอบครัวอย่างเข้าใจ ดังนั้น จุดเริ่มต้นสำคัญของการแก้ปัญหานี้คือ พ่อแม่ผู้ปกครอง ที่ควรมีทัศนคติต่อเด็กสมาธิสั้นอย่างถูกต้อง เพื่อลดผลกระทบจากจุดอ่อน และช่วยเสริมการพัฒนาจุดเด่น ...
    • วิจัยความรู้สู่แนวทางป้องกัน ดูแล รักษา โรคสมาธิสั้น 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)
      โรคสมาธิสั้น สามารถป้องกันและรักษาได้โดย วิธีการป้องกัน : สังเกตและคัดกรองเบื้องต้นด้วยเครื่องมือ เช่น แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) แบบคัดกรอง SNAP-IV, KUS-SI, Conners rating scale, THASS ฯลฯ วิธีการดูแล : ปรับพฤติกรรมท ...
    • โรคสมาธิสั้น : เป็นได้ เปลี่ยนได้ ถ้าปรับพฤติกรรม 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-01)
      เด็กโรคสมาธิสั้น ควรได้รับการดูแลและลดสิ่งเร้า เช่น จัดสถานที่สำหรับทำการบ้าน อ่านหนังสือ โดยไม่มีสิ่งรบกวน ฝึกให้เด็กทำกิจกรรมในที่เงียบๆ หรืออยู่ในสถานที่สงบ ลดการไปเที่ยวห้างหรือสถานที่ที่มีคนพลุกพล่าน จำกัดการดูทีวี ...