Now showing items 1-15 of 15

    • Strategic research on impact of physical activity and diet on the development of dementia, diabetes, chronic kidney disease, and cerebrovascular disease in a Thai general population 

      Prasert Boongird; ประเสริฐ บุญเกิด (สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-07-22)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมสัมมนาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ เรื่อง “การพัฒนายุทธศาสตร์งานวิจัยเกี่ยวกับสมอง จิตใจ และพฤติกรรม” (Development of Research Strategies for Brain Mind and Behaviour) จัดโดย สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ ...
    • การจัดระบบดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตสำหรับหน่วยบริบาลปฐมภูมิ 

      สิริภา ช้างศิริกุลชัย; Siribha Changsirikulchai; มยุรี ตั้งเกียรติกำจาย; Mayuree Tangkiatkumjai; ผกาพรรณ บุญเต็ม; Phakapun Boontem (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)
      โรคไตเสื่อมเรื้อรัง (Chronic kidney disease, CKD) เป็นโรคที่มีความสำคัญต่อระบบสาธารณสุขของประเทศไทยและนานาชาติ เนื่องจากจำนวนผู้ป่วยที่เป็นโรคไตเรื้อรังมาก และมีการดำเนินของโรคจนเข้าสู่ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ต้องได้ร ...
    • การประเมินความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์ของการตรวจคัดกรองโรคไตเรื้อรังในผู้สูงอายุ 

      กฤษณี สระมุณี; Kritsanee Saramunee; สุรัชดา ชนโสภณ; Suratchada Chanasopon; พรชนก ศรีมงคล; Pornchanok Srimongkon; ภาณุมาศ ภูมาศ; Panumart Phumart; อารีรัตน์ ลีละธนาฤกษ์; Areerut Leelathanalerk; วิระพล ภิมาลย์; Wiraphol Phimarn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-07)
      ภูมิหลังและเหตุผล: ไตเรื้อรัง (Chronic kidney disease, CKD) มีความชุกสูงในประเทศไทยและมีภาระค่าใช้จ่ายในการรักษามาก มีคำแนะนำว่าการคัดกรองความเสี่ยงของภาวะ CKD จะมีประโยชน์ อายุที่มากขึ้นถือเป็นปัจจัยเสี่ยงอย่างหนึ่งของการเกิด ...
    • การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเขตสุขภาพที่ 4 

      ปัฐยาวัชร ปรากฎผล; Padthayawad Pragodpol; อรุณี ไชยฤทธิ์; Arunee Chaiyarit; อุทัยทิพย์ จันทร์เพ็ญ; Uthaitip Chanpen; กนกพร เทียนคำศรี; Kanokporn Thiankumsri; ขนิษฐา แสงทอง; Khanittha Sangthong; วงศ์ทิพารัตน์ มัณยานนท์; Wongtiparrat Manyanon; ชาญณรงค์ รุจิระชาติกุล; Channarong Ruchirachatkool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      การวิจัยเรื่องการพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายในการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงเขตสุขภาพที่ 4 เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนา (Research & Development) ในรูปแบบการวิจัยแบบผสมผสาน ...
    • การพัฒนาระบบการคัดกรองโรคไตเรื้อรังระยะเริ่มต้นในระดับปฐมภูมิด้วยชุดตรวจ albuminuria 

      ณัฐชัย ศรีสวัสดิ์; Nattachai Srisawat; ไตรรักษ์ พิสิษฐ์กุล; Trirak Pisitkul; สมกัญญา ตั้งสง่า; Somkanya Tungsanga; กิตตินันท์ โกมลภิส; Kittinan Komolpis; สดุดี พีรพรรัตนา; Sadudee Peerapornratana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      โรคไตเรื้อรังถือว่าเป็นหนึ่งในปัญหาทางสุขภาพที่สำคัญทั้งในระดับชาติและระดับโลก เนื่องจากมีแนวโน้มที่ผู้ป่วยจะมีปริมาณเพิ่มขึ้นในแต่ละปี ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในระยะแรกจะยังไม่แสดงอาการของโรค แต่สามารถที่จะวินิจฉัยได้จากการ ...
    • การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เพื่อชะลอการล้างไตในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 

      อัมพรพรรณ ธีรานุตร; นงลักษณ์ เมธากาญจนศักดิ์; ปัทมา สุริต; วาสนา รวยสูงเนิน; ดลวิวัฒน์ แสนโสม; จันทร์โท ศรีนา; ดวงใจ อดิศักดิ์สดใส; นวลอนงค์ สุดจอม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561)
      การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Collaborative Action Research) นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อชะลอการล้างไต โดยทำการวิจัยที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชุมแพ จังหวัดขอนแก่น ระหว่างเดือนมกราคมถึงธันวาคม ...
    • การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อชะลอโรคไตเรื้อรัง กรณีศึกษาโรงพยาบาลชุมแพ 

      อัมพรพรรณ ธีรานุตร; Ampornpan Theeranut; สุณี เลิศสินอุดม; Sunee Lertsinudom; นงลักษณ์ เมธากาญจนศักดิ์; Nonglak Methakanjanasak; ปัทมา สุริต; Pattama Surit; จันทร์โท ศรีนา; Chantho Srina; วิบูลย์ศักดิ์ วุฒิธนโชติ; Wiboonsak Wuttanachot; ยศวัจน์ พักเท่า; Yosawat Paktao; ดวงใจ อดิศักดิ์สดใส; Duangjai Adisaksodsai; นวลอนงค์ สุดจอม; Nuan-Anong Sudjom; สุดาพร ไทยเทวรักษ์; Sudaporn Thaitewarak; สุนันท์ชนก น้ำใจดี; Sunanchanok Namjaidee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Mutual Collaborations Action Research) วัตถุประสงค์หลักของการวิจัย คือ 1. เพื่อพัฒนาหารูปแบบของกิจกรรมบริการในระบบบริการสุขภาพเพื่อชะลอโรคไตเรื้อรังทุกระยะ 2. ...
    • การสำรวจทรัพยากรของโรงพยาบาลที่ให้บริการบำบัดทดแทนไตแบบต่อเนื่อง 

      จิราธร สุตะวงศ์; Jiratorn Sutawong; ธนายุต เศรณีโสภณ; Thanayut Saeraneesopon; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; ณัฐชัย ศรีสวัสดิ์; Nattachai Srisawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      ภูมิหลังและเหตุผล: โรคไตวายเฉียบพลันเกิดได้จากหลายสาเหตุ ส่งผลให้ร่างกายไม่สามารถขับของเสียออกจากร่างกายได้ ในประเทศไทย ผู้ป่วยไตวายเฉียบพลันที่เข้าถึงบริการบำบัดทดแทนไตมีแนวโน้มลดลง ซึ่งมีสมมติฐานอยู่สองประการคือ ...
    • คู่มือการชะลอไตเสื่อม 

      ปัฐยาวัชร ปรากฎผล; Padthayawad Pragodpol; อรุณี ไชยฤทธิ์; Arunee Chaiyarit; อุทัยทิพย์ จันทร์เพ็ญ; Uthaitip Chanpen; กนกพร เทียนคำศรี; Kanokporn Thiankumsri; ขนิษฐา แสงทอง; Khanittha Sangthong; วงศ์ทิพารัตน์ มัณยานนท์; Wongtiparrat Manyanon; ชาญณรงค์ รุจิระชาติกุล; Channarong Ruchirachatkool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-01)
      ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังจำนวนมากและมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นในทุกปี ทั้งจำนวนผู้ป่วยไตเรื้อรัง ผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดทดแทนไตและผู้ป่วยที่รอการปลูกถ่ายไต นอกจากนี้ยังต้องใช้งบประมา ...
      Tags:
    • จีโนไทป์ของยีนเอชแอลเอคลาสหนึ่งและสองโดยเทคโนโลยีการวิเคราะห์ลำดับเบสแบบโมเลกุลเดี่ยวในผู้ป่วยไทยที่ได้รับการปลูกถ่ายไต 

      ยิ่งยศ อวิหิงสานนท์; Yingyos Avihingsanont; ปาจรีย์ จริยวิลาศกุล; Pajaree Chariyavilaskul; มนพัทธ์ ชำนาญพล; Monpat Chammanphon; สุวศิน อุดมกาญจนนันท์; Suwasin Udomkarnjananun; ณัฐวุฒิ โตวนำชัย; Natavudh Townamchai; เกื้อเกียรติ ประดิษฐ์พรศิลป์; Kearkiat Praditpornsilp; ณัฏฐิยา หิรัญกาญจน์; Nattiya Hirankarn; มนนัทธ์ พงษ์พานิช; Monnat Pongpanich (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-09)
      การปลูกถ่ายอวัยวะเป็นวิธีการรักษาที่ช่วยต่อชีวิตใหม่ให้แก่ผู้ป่วยที่หมดหวังที่จะรักษาด้วยวิธีการอื่นๆ เพื่อให้มีชีวิตอยู่ต่อไปได้ ไตเป็นอวัยวะที่มีการปลูกถ่ายมากที่สุดในประเทศไทยตลอดระยะเวลากว่า 50 ปีที่ผ่านมา ถึงแม้ว่าว ...
    • ต้นทุน และประสิทธิภาพของหน่วยบริการไตเทียม ภาครัฐและเอกชนในปี 2544 

      กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; สุวรรณา มูเก็ม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2546)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ต้นทุน โครงสร้างต้นทุน ประสิทธิภาพของหน่วยบริการไตเทียมภาครัฐและเอกชนทั่วประเทศ ในปี พ.ศ. 2544 โดยใช้วิธีการสำรวจ โดยเก็บข้อมูลต้นทุนค่าแรง ค่าวัสดุ ค่าเสื่อมราคา ปริมาณการบริการฟอกเลือด ...
    • วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2566 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      วารสารวิจัยระบบสาธารณสุข ปีที่ 17 ฉบับที่ 2 เมษายน-มิถุนายน 2566 ประกอบด้วย บทบรรณาธิการ เรื่อง ความเป็นธรรมในงานวิจัย: เรียนรู้จากสถานการณ์โควิด โดย ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย นิพนธ์ต้นฉบับ จำนวน 11 บทความ ได้แก่ 1) ...
    • สมุดบันทึกการจัดการตนเองเพื่อชะลอไตเสื่อม โครงการพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 

      ปัฐยาวัชร ปรากฎผล; Padthayawad Pragodpol; อรุณี ไชยฤทธิ์; Arunee Chaiyarit; อุทัยทิพย์ จันทร์เพ็ญ; Uthaitip Chanpen; กนกพร เทียนคำศรี; Kanokporn Thiankumsri; ขนิษฐา แสงทอง; Khanittha Sangthong; วงศ์ทิพารัตน์ มัณยานนท์; Wongtiparrat Manyanon; ชาญณรงค์ รุจิระชาติกุล; Channarong Ruchirachatkool (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      สมุดบันทึกการจัดการตนเองเพื่อชะลอไตเสื่อม โครงการพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพในการชะลอไตเสื่อมในผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง พัฒนาขึ้นเพื่อให้อาสาสมัครได้รับรู้ถึงข้อมูลสุขภาพเบื้องต้นของตนเอง ...
    • เบาหวานเสี่ยงไต ใครๆ ก็เป็นได้ พบ 1 ใน 3 น้อยกว่า 60 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-02-01)
      Infographic ข้อมูลจากงานวิจัย การประเมินผลการเข้าถึงบริการและการจัดบริการทดแทนไต ภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพในประเทศไทย (https://kb.hsri.or.th/dspace/handle/11228/4009) ให้ข้อมูลเกี่ยวกับ สถิติข้อมูลผู้ป่วยโรคไต อาการของโรค ...
    • เภสัชพันธุศาสตร์ ในผู้ป่วยไทยที่ได้รับการปลูกถ่ายไต 

      ชาครีย์ กิติยากร, หม่อมหลวง; Chagriya Kitiyakara, M.L. (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12-28)
      การปลูกถ่ายไต (Kidney transplantation : KT) ช่วยยืดอายุผู้ป่วยไตวาย KT จำเป็นต้องใช้สารกดภูมิคุ้มกัน เช่น Tacrolimus (TAC) และ Mycophenolate mofetil (MMF) เพื่อป้องกันการปฏิเสธไตของผู้บริจาค ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการสูญเสียไต ...