Browsing by Subject "SARS-CoV-2"
Now showing items 1-19 of 19
-
การติดตามการเปลี่ยนแปลงของภูมิต้านทานระยะยาวต่อ SARS-CoV-2 ในผู้ป่วยที่หายจากโรคโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)ประเทศไทยเป็นอีกประเทศที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข และ เศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้นการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในเชื้อ SARS-CoV-2 ให้รวดเร็วที่สุด จึงเป็นสิ่งสำคัญ ดังนั้นงานวิจัยนี้ ... -
การพัฒนากระบวนการและฐานข้อมูล ระบบเฝ้าระวังโรคติดเชื้อโควิด-19 สำหรับกลุ่มประชากรไทยข้ามพรมแดน ในเขตสุขภาพที่ 12
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ส่งผลให้คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลา มีการมอบหมายอำนาจและหน้าที่ให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภายใต้การรับผิดชอบของคณะแพทยศาสตร์ ดำเนินการโปรแกรมติดตามผู้เดินทางมาจากประเทศมาเลเซีย ... -
การศึกษาความปลอดภัยและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อสายพันธุ์โอไมครอนของการฉีดวัคซีนเข็มที่ 3 ในชั้นผิวหนังและกล้ามเนื้อในผู้สูงอายุที่ได้รับวัคซีนแอสตร้าเซเนก้า 2 เข็ม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-01)วัคซีนโควิด-19 เข็มกระตุ้นมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องให้ในกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงสูงหากมีการติดเชื้อโควิด-19 เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ จากการศึกษาพบว่า การฉีดวัคซีนเข้าชั้นผิวหนังมีประสิทธิภาพเทียบเท่าการฉีดเข้าชั้นกล้ามเนื้อ ... -
การศึกษาความปลอดภัยและการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันหลังการได้รับวัคซีนโควิด-19 ด้วยการฉีดเข้าในผิวหนัง เพื่อประโยชน์สูงสุดในการบริหารจัดการวัคซีน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)หลักการและเหตุผล: เนื่องด้วยประเทศไทยมีการระบาดโรคโควิด-19 หลายระลอก เป็นเหตุให้การนำเข้าวัคซีนโควิด-19 ในช่วงแรกไม่เพียงพอต่อการกระจายวัคซีนให้กับประชากร ดังนั้น การให้วัคซีนด้วยการฉีดเข้าชั้นผิวหนัง (Intradermal: ID) ... -
การศึกษาประสิทธิภาพของยาไอเวอร์เมคตินเปรียบเทียบกับยาไฮด้อกซี่คลอโรควินร่วมกับดารุนาเวียร์/ริโตนาเวียร์ในการลดระยะเวลาการตรวจพบเชื้อ SAR-CoV2 จากสารคัดหลั่งทางเดินหายใจของผู้ติดเชื้อไวรัสโควิด 19 ที่ไม่แสดงอาการ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)การวิจัยแบบสุ่ม ไม่ปกปิด ในผู้ติดเชื้อ SARS-CoV-2 ซึ่งไม่มีอาการหรือมีอาการไม่รุนแรง เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของยาไอเวอร์เมคตินขนาดสูง (600 ไมโครกรัม/น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม) วันละครั้งนาน 3 วัน (กลุ่ม A) จำนวน 57 ราย ... -
การศึกษาภูมิคุ้มกันในผู้ที่หายและผู้ที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อจากโรคโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ (โควิด-19)
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)เนื่องจากยังไม่มีการศึกษาวิจัยในประเทศไทยถึงการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ SARS-CoV-2 ในผู้กำลังติดเชื้อโรค COVID-19 และผู้ใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงสูง งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ในการศึกษาการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันผ่านการสร้างแอนติบอดี ... -
การศึกษาอาการไม่พึงประสงค์และความไม่ปลอดภัย ภายหลังการรับวัคซีนป้องกันโควิด-19 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้สูงอายุ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลรามาธิบดี กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-12)การศึกษาวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอาการไม่พึงประสงค์และเปรียบเทียบการมีอาการไม่พึงประสงค์กับชนิดของวัคซีนป้องกันโควิด-19 กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 7 กลุ่มโรค และผู้สูงอายุที่มารับวัคซีนป้องกันโควิด-19 ... -
การศึกษาเปรียบเทียบความปลอดภัยและผลภูมิต้านทานหลังได้รับวัคซีนโควิด-19 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ 2 ครั้ง และการให้วัคซีนเชื้อตายตามด้วยวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอในเด็กอายุ 5 ถึง 11 ปี
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบความปลอดภัยและผลภูมิต้านทานหลังได้รับวัคซีนโควิด-19 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ 2 เข็ม และการให้วัคซีนเชื้อตาย 1 หรือ 2 เข็ม และตามด้วยวัคซีนชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอในเด็กอายุ 5 ถึง 11 ปี วิธีการศึกษา: ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายจากการใช้แบบจำลองสถานการณ์พลวัตระบบการจัดการห่วงโซ่อุปทานของวัคซีนโควิด-19
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)การระบาดใหญ่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โรคโควิด-19 หรือ COVID-19) เป็นปัญหาที่ซับซ้อน มีพลวัตรสูงและส่งผลกระทบทั้งด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ทั้งระดับภายในประเทศและระดับนานาชาติ นอกจากผลกระทบโดยตรงต่อด้านส ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายและแนวทางปฏิบัติในการตรวจทางชีวโมเลกุลเพื่อแยกเชื้อไวรัสที่มีความสามารถในการแพร่เชื้อได้ออกจากซากเชื้อไวรัสโคโรนาซาร์-2
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)การตรวจหาสารพันธุกรรมของไวรัสโคโรนาซาร์โควี-2 ตามที่องค์การอนามัยโลกแนะนำ คือ วิธี real-time PCR แต่วิธีการตรวจดังกล่าวไม่สามารถแยกเชื้อเป็นกับซากเชื้อออกจากกันได้ คณะผู้วิจัยได้พัฒนาการออกแบบการตรวจวัดปริมาณสารพันธุกรรม ... -
การสังเคราะห์ข้อเสนอเพื่อสนับสนุนกระบวนการตัดสินใจเชิงนโยบายและการวางแผนการปรับตัวหลังวิกฤตของระบบสุขภาพของประเทศไทย โดยการประยุกต์ใช้แบบจำลองสถานการณ์พลวัตระบบของการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-03)ปัญหาการระบาดใหญ่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ในประเทศไทย เป็นปัญหาซับซ้อน ความรู้ที่มีอยู่อย่างจำกัดตามธรรมชาติของโรคอุบัติใหม่ ทำให้มีความไม่แน่นอนในการแก้ไขปัญหา ผู้กำหนดนโยบายต้องการข้อมูลที่รอบด้านประกอ ... -
การเฝ้าระวังการติดเชื้อไวรัสซาร์โควี-2 ในโรงงาน ด้วยการตรวจแอนติเจนจากน้ำลาย
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-08)การระบาดของ Coronavirus 2019 หรือ COVID-19 ส่งผลให้โรงงานอุตสาหกรรมหลายแห่งต้องหยุดการทำงาน ส่งผลเสียต่อภาคอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจของประเทศไทย หลังจากที่สถานการณ์ได้คลี่คลายลง เริ่มมีการแนะนำมาตรการที่จะนำมาใช้ในการเปิดการ ... -
การใช้ยาฟาวิพิราเวียร์เทียบกับการรักษาแบบประคับประคองในผู้ป่วยโควิด 19 ที่มีอาการไม่หนักและยังไม่มีภาวะปอดอักเสบ
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)ยาฟาวิพิราเวียร์ เป็นยาต้านที่มีกลไกออกฤทธิ์ด้วยการยับยั้งเอนไซม์ RNA-dependent RNA polymerase และน่าจะมีประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อโควิด-19 ได้ เนื่องด้วยในสถานการณ์การระบาดของเชื้อมีความเป็นไปได้ว่าจะพบผู้ติดเชื้อมากขึ้นเรื่อยๆ ... -
ความปลอดภัยและผลการกระตุ้นภูมิต้านทาน ในประชากรผู้ใหญ่หลังให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดเชื้อตาย (Sinovac) ครบแล้ว 2 เข็ม ด้วยวัคซีนโควิด-19 ชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกัน
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-2019 (โควิด-19) ได้กลายเป็นปัญหาด้านการดูแลสุขภาพและสาธารณะมีความรุนแรงทั่วโลกนับตั้งแต่เกิดการระบาดครั้งแรกในปลายเดือนธันวาคม 2019 ปัจจุบันมีการใช้วัคซีนโควิด-19 ในหลายประเทศแต่ก็ยั ... -
ความปลอดภัยและผลการกระตุ้นภูมิต้านทาน ในประชากรผู้ใหญ่หลังให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ เข็มที่ 4 จากผู้ที่มีประวัติการได้รับวัคซีนโควิด-19 มาแล้ว 3 เข็ม, การศึกษาเชิงคลินิก
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของความปลอดภัยและผลของการกระตุ้นภูมิคุ้มกันของการให้วัคซีนเข็มที่ 4 ชนิดเอ็มอาร์เอ็นเอ ภายหลังการให้วัคซีน 3 เข็มในรูปแบบต่างๆ หลังจากนั้นทำการเปรียบเทียบผลการศึกษาดังกล่าวระหว่างกลุ่ม BNT162b2 ... -
ความปลอดภัยและผลการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันหลังการได้รับวัคซีนโควิด 19 ด้วยการฉีดเข้าในผิวหนัง ในอาสาสมัครที่ได้รับวัคซีนเข็มแรก และที่ได้รับวัคซีนกระตุ้น
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)เนื่องด้วยพบการระบาดในประเทศไทยในหลายระลอก การนำเข้าวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 ในช่วงแรกไม่เพียงพอต่อการกระจายวัคซีนไปยังประชากรทั่วประเทศ การให้วัคซีนด้วยการฉีดเข้าในชั้นผิวหนังจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ซึ่งนอกจากจะใช้วัคซี ... -
ประสิทธิผลการใช้พลาสมาของผู้ที่หายป่วยจากโรคโควิด-19 สำหรับรักษาผู้ป่วย โควิด-19 ที่มีภาวะปอดบวมระดับปานกลางถึงรุนแรง
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)โรคอุบัติใหม่โควิด-19 ที่เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่มีการระบาดไปทั่วโลก โดยเริ่มพบการแพร่ระบาดของเชื้อครั้งแรกเมื่อเดือนธันวาคม 2562 ในนครอู่ฮั่น เมืองหลวงของมณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้การ ... -
ประสิทธิศักย์และความปลอดภัยของการใช้ยาแคปซูลฟ้าทะลายโจรเปรียบเทียบกับยาบรรเทาอาการมาตรฐานในผู้ติดเชื้อโควิด-19 ที่ไม่มีอาการหรือมีอาการน้อย (ยังไม่มีปอดอักเสบแรกรับ) : การทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุม
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)ผู้ป่วยโรคโควิด-19 ที่ไม่มีอาการหรือมีอาการน้อย ซึ่งได้รับการยืนยันผลการติดเชื้อ Severe Acute Respiratory Syndrome Coronavirus-2 (SARS-CoV-2) ด้วยวิธี Reverse Transcription Polymerase Chain Reaction (RT-PCR) ภายใน 72 ชั่วโมง ... -
ภูมิต้านทานในการให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดต่างๆ กระตุ้นเข็ม 3 ในผู้ใหญ่ที่ได้รับวัคซีนครบ 2 เข็ม ตามคำแนะนำของกระทรวงสาธารณสุข
(สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-02)งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความปลอดภัยและผลภูมิต้านทานหลังได้รับวัคซีนโควิด-19 ชนิดโปรตีนซับยูนิตหรือวัคซีนโคโวแวกซ์ เมื่อให้เป็นเข็มกระตุ้นในประชากรผู้ใหญ่ที่เคยได้รับวัคซีนมาแล้ว 2 เข็มในสูตรต่างๆ โดยศึกษาแบบ ...