Now showing items 21-40 of 191

    • การบริหารจัดการกำลังคนด้านการพยาบาลและสมรรถนะของพยาบาลเพื่อตอบสนองภาวะวิกฤตโควิด-19 ในระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ เขตสุขภาพที่ 10 

      จรูญศรี มีหนองหว้า; Jaroonsree Meenongwah; สาดี แฮมิลตัน; Sadee Hamilton; ปัทมา ผ่องศิริ; Pattama Phongsiri; สุเพียร โภคทิพย์; Supian Pokathip; เอมอร บุตรอุดม; Aimon Butudom; พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; อรดี โชคสวัสดิ์; Oradee Choksawat; รัตนา บุญพา; Rattana Boonpha; เชาวลิต ศรีเสริม; Chaowalit Srisoem; ปัฐมาพร ใจกล้า; Pattamaporn Jaikla; วิโรจน์ เซมรัมย์; Wirote Semrum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      ผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่เพิ่มมากขึ้นทำให้บุคลากรสาธารณสุขในโรงพยาบาลต้องมีภาระงานเพิ่มขึ้นมาก โดยเฉพาะวิชาชีพพยาบาลที่มีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยโดยตรง ทำให้ต้องมีการบริหารอัตรากำลังด้านการพยาบา ...
    • การบริหารจัดการภาวะวิกฤตในช่วงสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ระลอกแรก 

      ธีระ วรธนารัตน์; Thira Woratanarat; ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์; Patarawan Woratanarat; อารียา จิรธนานุวัฒน์; Areeya Jirathananuwat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-09)
      โควิด-19 (COVID-19) เป็นวิกฤตโรคระบาดครั้งใหญ่ของประเทศไทยและของโลก ส่งผลกระทบต่อสถานะสุขภาพของประชาชนไทยทั้งประเทศ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอกลไกและกระบวนการบริหารจัดการของรัฐที่ตอบสนองต่อเหตุการณ์สำคัญระหว่าง ...
    • การบริหารจัดการเพื่อแก้ปัญหาเกี่ยวกับการให้อาหารแก่ทารกและเด็กเล็กในสังคมไทยระหว่างการแพร่ระบาดของโควิด-19 

      ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ปารีณา ศรีวนิชย์; Pareena Sriwanich; เอกชัย เพียรศรีวัชรา; Ekachai Piensriwatchara (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-03)
      ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ทารกและเด็กเล็กที่อาศัยอยู่ในครอบครัวที่มีรายได้น้อยต้องประสบกับปัญหาการขาดอาหารโดยเฉพาะเด็กที่ไม่ได้กินนมแม่แต่ใช้นมผงทดแทน หน่วยงานภาครัฐและภาคประชาสังคมจำนวนมากได้ระดมทุนและจัดทำโคร ...
    • การบริหารจัดการเวชภัณฑ์กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019: ปัญหา อุปสรรคในการจัดซื้อของภาครัฐ ภาคเอกชน และแนวทางแก้ไข 

      รัตพงษ์ สอนสุภาพ; Rattaphong Sonsuphap; สิตานนท์ เจษฎาพิพัฒน์; Sitanon Jesdapipat; อิสรีย์ ภักดิ์ศรีแพง; Itsaree Phaksipaeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02)
      การวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการเวชภัณฑ์กรณีโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 : ปัญหา อุปสรรคในการจัดซื้อของภาครัฐ ภาคเอกชน และแนวทางแก้ไข มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการจัดหาเวชภัณฑ์เกี่ยวกับโรค COVID-19 ได้แก่ วัคซีน ...
    • การประชุมสมัชชาอนามัยโลกแบบออนไลน์ครั้งแรกในประวัติศาสตร์ 

      โอริสา ซื่อสัตยาวงศ์; Orisa Sursattayawong; บรรลุ ศุภอักษร; Banlu Supaaksorn; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; ชะเอม พัชนี; Cha-aim Pachanee; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทั่วโลก องค์การอนามัยโลกจึงจัดการประชุมสมัชชาอนามัยโลก สมัยที่ 73 แบบออนไลน์เป็นครั้งแรก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาทบทวนการจัดประชุมแบบออนไลน์แ ...
    • การประมาณต้นทุนการเจ็บป่วยโรคโควิด-19 สถาบันบำราศนราดูร ประเทศไทย 

      ชุมแพ สมบูรณ์; Chumphae Somboon; มธุรส ทิพยมงคลกุล; Mathuros Tipayamongkholgul; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ; Kanitta Bundhamcharoen; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; Chanida Lertpitakpong (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบต้นทุนทางตรงทางการแพทย์ของโควิด-19 ตามระดับความรุนแรงของโรคและโรคประจำตัว ในมุมมองของผู้ให้บริการ (provider perspective) วิเคราะห์ต้นทุนด้วยวิธีจากล่างขึ้นบน (bottom-up approach) ...
    • การประเมินการดำเนินการเพิ่มศักยภาพเครือข่ายระบบบริการสุขภาพปฐมภูมิ เพื่อให้การดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ที่บ้าน ในช่วงเวลาที่เกิดวิกฤติระบบสุขภาพในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 

      ศิรินภา ศิริพร ณ ราชสีมา; Sirinapa Siriporn Na Ratchaseema; สายรัตน์ นกน้อย; Sairat Noknoy; อภินันท์ อร่ามรัตน์; Apinun Aramrattana; สุพัตรา ศรีวณิชชากร; Supattra Srivanichakorn; อนุวัตร แก้วเชียงหวาง; Anuwat Kaewchiangwang; ราม รังสินธุ์; Ram Rangsin; สตางค์ ศุภผล; Satang Supapon; วิรุฬ ลิ้มสวาท; Wirun Limsawart; นิตยา ภานุภาค; Nittaya Phanuphak; ปิยวรรณ ลิ้มปัญญาเลิศ; Piyawan Limpanyalert; กิตติ วงศ์ถาวราวัฒน์; Kitti Wongthavarawat; ยุพดี ศิริสินสุข; Yupadee Sirisinsuk; นาถนภา คำลอยฟ้า; Nathnapha Khumloyfa; นิมิตร์ เทียนอุดม; Nimit Tienudom; นพพรรณ พรหมศรี; Nopphan Promsri; ทัศนีย์ ญาณะ; Tassanee Yana; เกรียงไกร พึ่งเชื้อ; Kriengkrai Peungchuer; พลวัฒน์ ทศวิภาค; Ponrawat Thotwiphak; ธีระบูลย์ เลิศวณิชย์วัฒนา; Teeraboon Lertwanichwattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-03)
      สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งเป็นโรคอุบัติใหม่ ช่วงกลางปี พ.ศ. 2564 นำไปสู่ปัญหาวิกฤติระบบสุขภาพในกรุงเทพมหานครที่ผู้ป่วยหนักไม่สามารถเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ราชวิทยาลัยแพทย์เวชศาสตร์ ...
    • การประเมินการปฏิบัติตนของประชาชนในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ในช่วงครึ่งปีแรกของปี 2564 

      จรัส รัชกุล; Charuch Rachakul; ชาติชาย สุวรรณนิตย์; Chatchay Suvannit; ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Rueangsom; จีรวรรณ หัสโรค์; Gerawan Haslo; โศภิสุดา วิบูลย์พันธุ์; Sophisuda Wiboonphan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-10)
      ภูมิหลังและเหตุผล การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ที่ระบาดมาตั้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2563 และเริ่มระบาดระลอกที่สามในช่วงต้นเดือนเมษายน พ.ศ. 2564 ทำให้มีการออกนโยบายป้องกันเชิงสังคมและพฤติกรรม รวมทั้งการ ...
    • การประเมินประสิทธิผลมาตรการป้องกันการระบาดของโรค COVID-19 ในสถานศึกษา พื้นที่ชายแดน จังหวัดเชียงราย ประเทศไทย 

      ธนัชพร มุลิกะบุตร; Thanatchaporn Mulikaburt; ธวัชชัย อภิเดชกุล; Tawatchai Apidechkul; สุนทรี สุรัตน์; Soontaree Suratana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      การศึกษาแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิผลของมาตรการป้องกันการระบาดของโรค COVID-19 ในโรงเรียนสังกัดภาครัฐ เอกชน โรงเรียนสอนภาษาและโรงเรียนสอนศาสนา ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ชายแดน อำเภอแม่ฟ้าหลวง อำเภอแม่จัน ...
    • การประเมินประสิทธิภาพการขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ในการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส-2019 พื้นที่เขตสุขภาพ 10 

      ปวีณา ลิมปิทีปราการ; Pawena Limpiteeprakan; พลากร สืบสำราญ; Phalakorn Suebsamran; นิยม จันทร์นวล; Niyom Junnual; ชลลดา ไชยกุลวัฒนา; Cholada Chaikoolvatana; อนันต์ ไชยกุลวัฒนา; Anun Chaikoolvatana; จงกลนี ศิริรัตน์; Jongkolnee Sirirat; รพินทร์ ยืนยาว; Rapin Yuenyao; วินัย วงศ์อาสา; Winai Wongarsa; วิชิต พุ่มจันทร์; Wichid Pumchan; สงกา สามารถ; Songka Samart (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-11)
      จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโคโรน่าไวรัส 2019 หรือ โรคโควิด-19 (COVID-19) ที่ผ่านมา เขตสุขภาพที่ 10 โดยคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชนเขตพื้นที่ 10 ร่วมกับเครือข่ายสมัชชาสุขภาพทั้ง 5 จังหวัด ประกอบด้วย จังหวัดอุบลราชธานี ...
    • การประเมินผลกระทบและความคุ้มค่าของวัคซีนโควิดที่พึงประสงค์เพื่อใช้ในการพัฒนาและคัดเลือกวัคซีนสำหรับใช้ในประเทศไทย 

      พัทธรา ลีฬหวรงค์; Pattara Leelahavarong; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; นันทสิทธิ์ เหลืองอาสนะทิพย์; Nantasit Luangasanatip; วิริชดา ปานงาม; Wirichada (Pongtavornpinyo) Pan-ngum; สมภพ ศรลัมพ์; Sompob Saralamba; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; Clapham, Hannah E.; Painter, Christopher Matthew Neil; Yi, Wang; Park, Minah (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-04-30)
      นับแต่มีการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เมื่อต้นปี พ.ศ. 2563 ทำให้มีผู้ติดเชื้อไปแล้วกว่า 100 ล้านคนและเสียชีวิตมากกว่า 2 ล้านคนทั่วโลก ถึงแม้ประเทศไทยจะประสบความสำเร็จในการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค จากสถานการณ ...
    • การประเมินผลการจัด Acute Respiratory Infection (ARI) Clinics เพื่อการดำเนินงานตรวจรักษาและควบคุมโรคโควิด-19 โรงพยาบาลรามาธิบดี 

      บัวหลวง สำแดงฤทธิ์; Bualuang Sumdaengrit; สุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรม; Suchira Chaiviboontham; อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ; Apinya Siripitayakunkit; นพวรรณ พินิจขจรเดช; Noppawan Phinitkhajorndech; ซู้หงษ์ ดีเสมอ; Suhong Deesamer; แสงเดือน ปิยะตระกูล; Sangduen Piyatrakul; จุฑามาศ เทียนสอาด; Juthamas Tiansaard; นิภาพร บุตรสิงห์; Nipaporn Butsing; อรวรรณ วราภาพงษ์; Orawan Warapapong; อุษา ใจหนัก; Usa Jainuk; นพมาศ มณีโชติ; Noppamas Maneechote; กาญจนา รัตนะราช; Kanjana Rattanarat; รุ่งธิวา กันทะวัน; Rungthiwa Kantawan; เสาวรส พาณิชย์วิสัย; Saowaros Panichvisai; รวี อยู่สำราญ; Rawee Yoosamran; นพกาญจน์ วรรณการโสกณ; Noppakan Wannakansophon; สุภาภรณ์ จันทร์ไทย; Supaporn Chanthai; สรวดี ยอดบุตร์; Sarawadee Yodbute; จิตติมา นุริตานนท์; Jittima Nuritanon; กาญจนา ปานนอก; Kanchana Pannok (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-04)
      การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบบรรยาย (Descriptive qualitative research design) โดยใช้วิธีการวิจัยทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยใช้ CIPP Model เป็นกรอบแนวคิดในการวิจัย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ประเมินโครงสร้างของระบบการจัดการ ...
    • การประเมินผลระบบบริการจัดส่งยาทางไปรษณีย์สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานในสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ในประเทศไทย 

      สุรศักดิ์ สุนทร; Surasak Soonthorn; ศรีสุดา งามขำ; Srisuda Ngamkham; กมลทิพย์ ตั้งหลักมั่นคง; Kamonthip Tanglakmankhong; บุญเตือน วัฒนกุล; Boontuan Wattanakul; ศุทธินี วัฒนกูล; Suttini Wattanakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      จากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ตลอดระยะเวลาสองปีที่ผ่านมา กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดมาตรการและนโยบายในด้านต่างๆ เพื่อลดความเสี่ยงจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา เพิ่มความปลอดภัยแก่ผู้ป่วยและผู้ให้บริการด้านสุขภาพ โดยหนึ่งในน ...
    • การประเมินระบบการดูแลผู้สูงอายุที่กระดูกสะโพกหักที่ผ่าตัดเร็วโดยทีมสหสาขาวิชาชีพในโรงพยาบาลนำร่องของประเทศไทยและผลกระทบของการระบาดของโควิด-19 ต่อระบบการดูแลผู้สูงอายุที่กระดูกสะโพกหัก (ปีที่1) 

      วราลักษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ; Varalak Srinonprasert; อรุโณทัย ศิริอัศวกุล; Arunotai Siriussawakul; สุวิมล ต่างวิวัฒน์; Suwimon Tangwiwat; ธีรวุฒิ ธรรมวิบูลย์ศรี; Theerawoot Tharmviboonsri; เอกภพ หมอกพรม; Ekkaphop Morkphrom; อัญชนา สุรอมรรัตน์; Unchana Sura-amonrattana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-02)
      ภาวะกระดูกสะโพกหัก (hip fracture) ในผู้สูงอายุ เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญของระบบสาธารณสุขทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย การดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้อย่างเหมาะสม ประกอบด้วย การรักษาโดยการผ่าตัดเร็ว (fast track surgery) และการดูแลโดยทีมสหส ...
    • การประเมินระบบการบริหารจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 ในเขตสุขภาพที่ 10: กรณีพื้นที่ชายแดนไทย-ลาว-กัมพูชา 

      อนันต์ ไชยกุลวัฒนา; Anun Chaikoolvatana; หรรษา ชื่นชูผล; Hunsa Chuencupol; พนมวรรณ์ สว่างแก้ว; Phanumwan Sawangkaew; พลากร สืบสำราญ; Phalakorn Suebsamran; พิมณทิพา มาลาหอม; Pimontipa Malahoam; อรชร มาลาหอม; Orachorn Malahoam; วีรพันธ์ ซื่อสัตย์; Weeraparn Seusaj; สุวัฒน์ พิมพะบุตร; Suwat Pimpabuj; ชลลดา ไชยกุลวัฒนา; Cholada Chaikoolvatana; สมฤทัย ศรีสุวะ; Somruthai Srisuwa (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06-30)
      รายงานฉบับสมบูรณ์นี้รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโคโรนาไวรัส 2019 ในเขตพื้นที่ที่มีพรมแดนรอยต่อติดกับประเทศลาวและกัมพูชา ซึ่งประกอบด้วย จังหวัดอุบลราชธานีและจังหวัดศรีสะเกษ ในช่วงปี พ.ศ. 2564-2565 ...
    • การประเมินศักยภาพของระบบสุขภาพในความพร้อมรับมือการระบาดโรค COVID-19 ในพื้นที่ชายแดน จังหวัดเชียงราย 

      อนุสรณ์ อุดปล้อง; Anusorn Udplong; ธวัชชัย อภิเดชกุล; Tawatchai Apidechkul; ฟาติมา ยีหมาด; Fartima Yeemard (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      การวิจัยแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินศักยภาพของบุคลากรและระบบสุขภาพในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรค COVID-19 ของหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงมหาดไทย ในพื้นที่อำเภอชายแดนจังหวัดเชียงราย คือ ...
    • การปล่อยเชื้อไวรัสที่มีชีวิตอย่างยืดเยื้อในผู้ป่วย COVID-19 

      ประเสริฐ เอื้อวรากุล; Prasert Auewarakul; ยุพิน ศุพุทธมงคล; Yupin Suputtamongkol; ชมพูนุท บุญอากาศ; Chompunuch Boonarkart (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-08)
      การพบว่ามีสารพันธุกรรมของเชื้อไวรัสในทางเดินหายใจของผู้ติดเชื้อโควิด-19 ที่คงอยู่เป็นเวลานานแม้จะหายจากการป่วยแล้วนั้นเป็นสิ่งที่พบได้บ่อยและเป็นปัญหาเฉพาะหน้าที่สำคัญในการควบคุมโรค โดยมีคำถามสำคัญว่าการพบสารพันธุกรรมดัง ...
    • การพัฒนากรอบยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขเพื่อตอบสนองต่อการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประเทศไทย 

      วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; อังคณา เลขะกุล; Angkana Lekagul; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; จุฑามาศ พราวแจ้ง; Juthamas Prawjaeng; วิไลลักษณ์ แสงศรี; Wilailak Saengsri; กานต์พีชญา เนตรพิสิทธิ์กุล; Kanpechaya Netpisitkul; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; มธุดารา ไพยารมณ์; Mathudara Phaiyarom; ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; สุณิชา ชานวาทิก; Sunicha Chanvatik; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; Pritaporn Kingkaew; รักมณี บุตรชน; Rukmanee Butchon; รุ่งนภา คำผาง; Roongnapa Khampang; สรายุทธ ขันธะ; Sarayuth Khuntha; พรธิดา หัดโนนตุ่น; Phorntida Hadnorntun; วิลาวรรณ ล้วนคงสมจิตร; Vilawan Luankongsomchit; เบญจรินทร์ สันตติวงศ์ไชย; Benjarin Santatiwongchai; วรรณฤดี อิสรานุวัฒน์ชัย; Wanrudee Isaranuwatchai; อรทัย วลีวงศ์; Orratai Waleewong; ณัฐดนัย รัชตะนาวิน; Nattadhanai Rajatanavin; นิธิวัชร์ แสงเรือง; Nithiwat Saengruang; ฐิติพร สุแก้ว; Thitiporn Sukaew; รักษพล สนิทยา; Rugsapon Sanitya; อรณา จันทรศิริ; Orana Chandrasiri; กมลพัฒน์ มากแจ้ง; Kamolphat Markchang; ณัฎฐณิชา แปงการิยา; Nattanicha Pangkariya; รัชพร คงประเสริฐ; Ratchaporn Kongprasert; โศภิต นาสืบ; Sopit Nasueb; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; Chutima Akaleephan; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; พุฒิปัญญา เรืองสม; Putthipanya Rueangsom; กมลวรรณ เขียวนิล; Kamonwan Kiewnin; หทัยชนก สุมาลี; Hathaichanok Sumalee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-09)
      การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus Disease 2019, COVID-19 หรือ โควิด-19) นับเป็น "การระบาดใหญ่" (pandemic) หลังจากพบผู้ติดเชื้อทั่วโลก ปัจจุบัน (กันยายน 2563) มีผู้ติดเชื้อทั่วโลกมากกว่า 30 ล้านราย ...
    • การพัฒนากระบวนการและฐานข้อมูล ระบบเฝ้าระวังโรคติดเชื้อโควิด-19 สำหรับกลุ่มประชากรไทยข้ามพรมแดน ในเขตสุขภาพที่ 12 

      พลเทพ วิจิตรคุณากร; Polathep Vichitkunakorn; ชนนท์ กองกมล; Chanon Kongkamol; ธรรมสินธ์ อิงวิยะ; Thammasin Ingviya; สิทธิโชค ไชยชูลี; Sitthichok Chaichulee; ภูมิใจ สรเสณี; Phoomjai Sornseranee; ทรงยศ ราชบริรักษ์; Songyos Rajborirak; คณกรณ์ หอศิริธรรม; Kanakorn Horsiritham; สรณีย์ หอศิริธรรม; Soranee Hosiritham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-12)
      จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ส่งผลให้คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลา มีการมอบหมายอำนาจและหน้าที่ให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภายใต้การรับผิดชอบของคณะแพทยศาสตร์ ดำเนินการโปรแกรมติดตามผู้เดินทางมาจากประเทศมาเลเซีย ...
    • การพัฒนาการกำกับดูแลข้อมูลและการติดตามความปลอดภัยโครงการวิจัยคลินิกของฟ้าทะลายโจรในผู้ป่วยโควิด-19 

      จันทรา กาบวัง เหล่าถาวร; Juntra Laothavorn; ธนา ขอเจริญพร; Thana Khawcharoenporn; ทิพวรรณ เลียบสื่อตระกูล; Tippawan Liabsuetrakul; รัตนวดี ณ นคร; Ratanavadee Na Nagara; ขวัญชนก ยิ้มแต้; Kwanchanok Yimtae (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-10)
      การขึ้นทะเบียนยาสมุนไพรเพื่อใช้ทางการแพทย์จำเป็นต้องมีสรรพคุณเฉพาะ (Specific Health Claim) หรือข้อบ่งใช้ (Clinical Indication) โดยมีหลักฐานผลการวิจัยทางคลินิกที่เป็นที่ยอมรับตามมาตรฐานสากล โดยมีการออกแบบการวิจัยในการพิสู ...