Now showing items 2685-2704 of 5322

    • ความเข้าใจของประชาชนต่อการคัดแยกระดับความรุนแรงของการเจ็บป่วยฉุกเฉินของผู้ป่วยก่อนถึงโรงพยาบาล 

      อุมารินทร์ คำพูล; Aumarin Kumpool; บวร วิทยชำนาญกุล; Borwon Wittayachamnankul; บริบูรณ์ เชนธนากิจ; Boriboon Chenthanakij; กรองกาญจน์ สุธรรม; Krongkarn Sutham (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-06-30)
      วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเข้าใจของประชาชนต่อการคัดแยกระดับความรุนแรงของการเจ็บป่วยฉุกเฉินของผู้ป่วยก่อนถึงโรงพยาบาลในแง่ความเห็นพ้องกับเกณฑ์การคัดแยกผู้ป่วยของสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ และศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ ...
    • ความเข้าใจในนโยบายสาธารณะ 

      แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
    • ความเชื่อมั่นของประชาชนต่อระบบสุขภาพ พ.ศ. 2553 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; สุวรรณี วังกานต์; วีระศักดิ์ พุทธาศรี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2553)
      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) และสำนักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) ได้ดำเนินการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับความเชื่อมั่นต่อระบบสุขภาพ พ.ศ. 2553 เพื่อรวบรวมความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อสมรรถนะของระบบสุขภาพ โดยข้อมูลท ...
    • ความเชื่อมโยงของประเด็นสุขภาพกับอนาคตของระบบสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      ความเชื่อมโยงของประเด็นต่างๆ กับสุขภาพสามารถอ้างถึงได้ดังที่พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 3 ได้จำกัดความคำว่า “สุขภาพ” ว่าหมายความถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญาและทางสังคม เชื่อมโยงกั ...
    • ความเชื่อมโยงของระบบคุณภาพและมาตรฐานต่างๆ 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-19)
    • ความเต็มใจยอมรับและความเต็มใจที่จะจ่ายเงินการได้รับการฉีดวัคซีนกระตุ้นซ้ำป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 

      นภชา สิงห์วีรธรรม; Noppcha Singweratham; เพ็ญนภา ศรีหริ่ง; Pennapa Sriring; อรนุช ทองจันดี; Oranuch Thongchundee; วุฒิกุล ธนากาญจนภักดี; Wuttikul Thanakanjanaphakdee; อัจฉรา คำมะทิตย์; Adchara Khammathit; กิตติพร เนาว์สุวรรณ; Kittiporn Nawsuwan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-02-28)
      การวิจัยเรื่องความเต็มใจยอมรับและความเต็มใจที่จะจ่ายเงินต่อการฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และประเมินตัวทำนายผลลัพธ์ในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความชุกของความต้องการรับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ...
    • ความเป็นธรรมของการใช้บริการสาธารณสุขในประเทศไทย 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; เรนเบอร์ก, คลาส; Rehnberg, Class (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อตรวจสอบว่า บริการสาธารณสุขของประเทศไทยกระจายตามความจำเป็นมากกว่าที่จะกระจายตามความสามารถในการจ่ายเงิน วัตถุประสงค์ของการ ศึกษาครั้งนี้มี 2 ประการ ได้แก่ 1. เพื่อวัดความเท่าเทียมกันขอ ...
    • ความเป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-03)
      วรรณกรรมด้านความเป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพมีปรากฏมากขึ้น โดยเฉพาะภายหลังองค์การอนามัยโลกแพร่รายงานของคณะกรรมาธิการปัจจัยสังคมกำหนดสุขภาพ ประเทศสหราชอาณาจักรซึ่งมีระเบียบวิธีการอธิบายความไม่เป็นธรรมของบริการทันตสุขภาพ ...
    • ความเป็นธรรมด้านสุขภาพในผู้สูงอายุไทยภายใต้สิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ 

      เมธิณี อินทรเทศ; Methinee Intarates; วินัย ลีสมิทธิ์; Vinai Leesmidt; ธีรพล ทิพย์พยอม; Teerapon Dhippayom; นิลวรรณ อยู่ภักดี; Nilawan Upakdee (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-06)
      ภูมิหลังและเหตุผล: ความเป็นธรรมทางสุขภาพ คือ การปราศจากช่องว่างเชิงระบบในการจัดสรรทรัพยากร การเข้าถึงและการใช้บริการสุขภาพ ผู้สูงอายุมีโอกาสเป็นโรคเรื้อรังประเภทโรคไม่ติดต่อ (non-communicable diseases: NCDs) หลายโรคร่วมกันได้สูง ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพ : การประเมินระดับครัวเรือน 

      Suphasit Panarunothai; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; วิรัชดา สุทธยาคม; พิชญ์ รอดแสวง; Dirak Phatamasiriwat; Sukanya Khongsawat; Sumrit Sritamrongsawat; Wiratda Sutayakhom; Phi Rodsawaeng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นนโยบายสำคัญอย่างหนึ่งที่องค์การอนามัยโลกเสนอแนะแก่รัฐบาลทั้งประเทศพัฒนาและกำลังพัฒนา ประเทศไทยดำเนินนโยบายนี้ทั่วประเทศอย่างรวดเร็วฉับไวเพียงหนึ่งปีหลังจากรัฐบาลใหม่ได้ชัยชนะเสียงข้างมากจากการ ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพกับสิทธิมนุษยชน: กรณีชาวเขาไร้สัญชาติในประเทศไทย 

      บุญมา สุนทราวิรัตน์; ณรงค์ศักดิ์ หนูสอน; ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; ชัยยง ขามรัตน์; Boonma Soontaraviratana; Narongsak Noosorn; Supasit Pannarunothai; Chaiyong Kamrat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      การวิจัยผสมผสานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระดับความเป็นธรรมทางสุขภาพในแนวคิดสิทธิมนุษยชน เพื่อหาแนวทางลดช่องว่างความเป็นธรรมทางสุขภาพระหว่างกลุ่มคนไทยพื้นราบ,กลุ่มชาวเขาสัญชาติไทย และกลุ่มชาวเขาไร้สัญชาติ รวม 789 คนใน ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพระดับครัวเรือน : การสำรวจครัวเรือนรอบที่ 2 และการตรวจร่างกายครั้งที่ 1 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai; ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์; สุกัลยา คงสวัสดิ์; Direk Patamasiriwat; Sukalaya Kongsawatt (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าต้องการสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยปัจจัยทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมไม่เป็นอุปสรรคกีดขวาง การศึกษาครั้งนี้เพื่อประเมินผลของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปี 2546 โดยการสำรว ...
    • ความเป็นธรรมทางสุขภาพในฐานะสิทธิมนุษยชนของชาวเขาไร้สัญชาติในประเทศไทย 

      บุญมา สุนทราวิรัตน์; Boonma Sunthrawirat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนาด้วยวิธีผสมผสานทั้งปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินเปรียบเทียบระดับความเป็นธรรมทางสุขภาพของกลุ่มชน 3 กลุ่มโดยใช้กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณจํานวน 789 คน ใน 10 จังหวัดภาคเหนือ ...
    • ความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากของประชาชนไทย พ.ศ.๒๕๕๐ 

      สุณี วงศ์คงคาเทพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
    • ความเป็นธรรมในการได้รับบริการสุขภาพช่องปากของประชากรไทย: การวิเคราะห์ผลการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2560 

      ธีรวัฒน์ ทัศนภิรมย์; Teerawat Tussanapirom; วริศา พานิชเกรียงไกร; Warisa Panichkriangkrai; วุฒิพันธุ์ วงษ์มงคล; Vuthiphan Vongmongkol (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2562-09)
      ประเทศไทยประสบความสำเร็จในการจัดให้มีระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแก่ประชาชนตั้งแต่ พ.ศ. 2545 ส่งผลให้ประชากรเกือบทั้งหมดมีสิทธิในสวัสดิการการรักษาทางทันตกรรมที่จัดให้โดยรัฐ แต่จากผลการสำรวจระดับประเทศที่ผ่านมานั้น ...
    • ความเป็นธรรมในงานวิจัย: เรียนรู้จากสถานการณ์โควิด 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-06)
      บทบรรณาธิการฉบับนี้เป็นการค้นหามุมมองความเป็นธรรมในระบบงานวิจัยที่เกิดขึ้นในช่วงสถานการณ์โควิดที่เป็นโอกาสของการค้นหาความรู้และมีรายจ่ายที่เพิ่มขึ้นมากในการวิจัยค้นหาความรู้ รายจ่ายการวิจัยและพัฒนาประเทศไทยปี พ.ศ. 2563 ...
    • ความเป็นธรรมในระบบสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
    • ความเป็นมา หลักจริยธรรมการวิจัยในคน และ guidelines ต่างๆ 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2556-01-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการฝึกอบรมคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยระดับเขตและจังหวัด โดยความร่วมมือระหว่างสำนักผู้ตรวจราชการประจำเขตตรวจราชการที่ 4 และสถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ วันที่ 16 -17 ...
    • ความเป็นไปได้ของแหล่งเงินต่างๆ ตามมาตรา 39 ในพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ในทัศนะของผู้สันทัดกรณี 

      วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Chitpranee Vasavid; Kanjana Tisayaticom; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      แหล่งการเงินของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในขณะนี้มาจากการจัดทำคำขอจากเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีของรัฐบาลโดยเลือกใช้การจัดทำงบประมาณปลายปิดด้วยอัตราเหมาจ่ายรายหัวคูณกับจำนวนประชากรที่ขึ้นทะเบียน จากประสบการณ์ที่ผ่านมา ...
    • ความเร็วเป็นปัญหาความปลอดภัยบนถนนจริงหรือ 

      ไพบูลย์ สุริยวงศ์ไพศาล (2539)
      ความเร็วรถมีความสัมพันธ์โดยตรงกับความปลอดภัยบนท้องถนน ทุกประเทศจึงมีมาตรการจำกัดความเร็ว และมีวิธีบังคับใช้กฎหมายจำกัดความเร็วต่างๆ เช่น การใช้กำลังเจ้าหน้าที่ตรวจจับ เครื่องมืออัตโนมัติต่างๆ การออกแบบถนน การควบคุมกำลังเครื่องยนต์ ...