Now showing items 2705-2724 of 5335

    • ความเป็นธรรมในระบบสุขภาพ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
    • ความเป็นมา หลักจริยธรรมการวิจัยในคน และ guidelines ต่างๆ 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2556-01-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการฝึกอบรมคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยระดับเขตและจังหวัด โดยความร่วมมือระหว่างสำนักผู้ตรวจราชการประจำเขตตรวจราชการที่ 4 และสถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ วันที่ 16 -17 ...
    • ความเป็นไปได้ของแหล่งเงินต่างๆ ตามมาตรา 39 ในพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ในทัศนะของผู้สันทัดกรณี 

      วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; จิตปราณี วาศวิท; กัญจนา ติษยาธิคม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Chitpranee Vasavid; Kanjana Tisayaticom; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      แหล่งการเงินของโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในขณะนี้มาจากการจัดทำคำขอจากเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีของรัฐบาลโดยเลือกใช้การจัดทำงบประมาณปลายปิดด้วยอัตราเหมาจ่ายรายหัวคูณกับจำนวนประชากรที่ขึ้นทะเบียน จากประสบการณ์ที่ผ่านมา ...
    • ความเร็วเป็นปัญหาความปลอดภัยบนถนนจริงหรือ 

      ไพบูลย์ สุริยวงศ์ไพศาล (2539)
      ความเร็วรถมีความสัมพันธ์โดยตรงกับความปลอดภัยบนท้องถนน ทุกประเทศจึงมีมาตรการจำกัดความเร็ว และมีวิธีบังคับใช้กฎหมายจำกัดความเร็วต่างๆ เช่น การใช้กำลังเจ้าหน้าที่ตรวจจับ เครื่องมืออัตโนมัติต่างๆ การออกแบบถนน การควบคุมกำลังเครื่องยนต์ ...
    • ความเสมอภาคในมุมมองของผู้ชี้นำทางสังคม : กรณีพระนักวิชาการทางพุทธศาสนาในสังคมไทย 

      อำนวย พิรุณสาร; Aamnuay Pirunsan (สถาบันวิจัยระบบสาธาณสุข, 2549)
      จากรายงานผลการวิจัยเรื่อง “ความเสมอภาค ในมุมมองของผู้ชี้นําทางสังคม : กรณีศึกษานักบวช (พระ) นักวิชาการทางพุทธศาสนาในสังคมไทย” พบว่า หลักคําสอน หลักปฏิบัติของพุทธศาสนา แม้จะเป็นหลักคําสอน และหลักปฏิบัติเพื่อมุ่งเน้นจุดมุ่ ...
    • ความเสมอภาคในระบบบริการสุขภาพ 

      สมชาย สุขสิริเสรีกุล (2539)
      แนวความคิดเรื่องความเสมอภาคตามหลักเศรษฐศาสตร์ มี 3 หลักการ และแนวทางในการพิจารณาต่างๆ กัน ไม่ได้มีความหมายหนึ่งเดียวที่เป็นสากล ระบบบริการสุขภาพแต่ละประเทศต้องตัดสินใจถึงจุดประสงค์ของความเสมอภาคของตนเอง ที่สำคัญคือ ...
    • ความเสี่ยงของการถ่ายทอดเชื้อทางโลหิตบริจาคในชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย 

      พิมล เชี่ยวศิลป์; Pimol Chiewsilp; ศศิธร เพชรจันทร; Sasitorn Bejrachandra; อิศรางค์ นุชประยูร; Issarang Nuchprayoon; พิมพรรณ กิจพ่อค้า; Pimpun Kitpoka; ปาริชาติ เพิ่มพิกุล; Parichart Permpikul; ชีวนันท์ เลิศพิริยสุวัฒน์; Cheewanan Lertpiriyasuwat; วารุณี จินารัตน์; Varunee Jinaratana; พรรณดี วัฒนบุญยงเจริญ; Phandee Watanaboonyongcharoen; ดวงตะวัน ธรรมาณิชานนท์; Duangtawan Thammanichamond; ดารินทร์ ซอโสตถิกุล; Darintr Sosothikul; โอภาส พุทธเจริญ; Opass Putcharoen; เจตตวรรณ ศิริอักษร; Jettawan Siriaksorn; ธนะภูมิ รัตนานุพงศ์; Thanapoom Rattananupong; ภาวิณี คุปตวินทุ; Pawinee Kupatawintu; สิณีนาฏ อุทา; Sineenart Oota; สาธิต เทศสมบูรณ์; Sathid Thedsomboon; เกรียงศักดิ์ ไชยวงค์; Kriangsak Chaiwong; ดวงนภา อินทรสงเคราะห์; Duangnapa Intharasongkroh; พีระยา สุริยะ; Peeraya Suriya; อภิสิทธิ์ ทองไทยสิน; Apisit Tongthaisin; อภิวรรษ ติยะพรรณ; Apiwat Tiyapan; คามิน วงษ์กิจพัฒนา; Kamin Wongkijpatana (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567-02-14)
      ที่มาและวัตถุประสงค์ จากการลดลงของความชุกโรคเอดส์ ร่วมกับมีการตรวจวิเคราะห์ด้วยวิธี Nucleic Acid Test ที่ช่วยลด Window Period ของการตรวจเชื้อเอชไอวี (Human Immunodeficiency Virus, HIV) บางประเทศจึงเริ่มให้ผู้มีพฤติกรรมเพ ...
    • ความเสี่ยงและความปลอดภัย: การโดยสารรถตู้สาธารณะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 

      อมราพร สุรการ; Amaraporn Surakarn; ณภัทรรัตน์ ไชยอัครกัลป์; Napattararat Chaiakkarakan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-05)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ทำความเข้าใจธรรมชาติของสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการโดยสารรถตู้สาธารณะในชีวิตประจำวัน ผ่านมุมมองของผู้โดยสารและคนขับรถตู้โดยสารสาธารณะ 2) ค้นหาแนวทางในการป้องกันอันตรายข ...
    • ความเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจในผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลิน โรงพยาบาลสังคม จังหวัดหนองคาย 

      บรรจบ อุบลแสน; Banchob Ubonsaen; รุจี พรชัย; Ruchee Pornchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      โรคหลอดเลือดหัวใจเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญและพบบ่อยในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลิน เป้าหมายการศึกษานี้คือทำการค้นหาปัจจัยเสี่ยงสำคัญและประเมินโอกาสเสี่ยงโรคหลอดเลือดหัวใจในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินสุลิน ...
    • ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการให้แพทย์เกษียณอายุราชการมาปฏิบัติงานรักษาผู้ป่วยในโรงพยาบาลของรัฐ 

      ซำแก้ว หวานวารี; Samkaew Wanvaree; วิชัย เอกพลากร; บุศรา เกิดพึ่งประชา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2539)
      ความเหมาะสม และความเป็นไปได้ในการให้แพทย์ เกษียณอายุราชการมาปฏิบัติงานรักษาผู้ป่วยในโรงพยาบาลของรัฐจากการศึกษา ความเป็นไปได้ ในโครงการจ้างแพทย์เกษียณอายุ มาทำงานให้รัฐโดยเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ความคิดเห็นแพทย์ทางโทรศัพท์ ...
    • ความเหลื่อมล้ำระหว่าง 3 กองทุนประกันสุขภาพ ทางออกอยู่หนใด 

      ภูษิต ประคองสาย (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2555-03)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าในทศวรรษที่สอง วันที่ 21-22 มีนาคม 2555 ณ ห้องคอนเวนชั่น (ชั้น 4) อาคารคอนเวนชั่น เซ็นเตอร์ โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต กรุงเทพมหานคร
    • ความเหลื่อมล้ำระหว่างระบบหลักประกันสุขภาพในประเทศไทย 

      สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์; บุณยวีร์ เอื้อศิริวรรณ; พินทุสร เหมพิสุทธิ์ (สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย เครือสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-04)
      ความเหลื่อมล้ำระหว่างระบบหลักประกันสุขภาพในประเทศไทยฉบับนี้ เป็นรายงานการสังเคราะห์สถานการณ์ของระบบประกันสุขภาพไทยในปัจจุบัน ที่มาจากรายงานผลการศึกษาต่างๆ และจากข้อมูลของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยมุ่งหวังจะช่วยสะท้อนก ...
    • ความเหลื่อมล้ำเชิงโครงสร้างในตลาดบริการสุขภาพ 

      นวลน้อย ตรีรัตน์ (คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556-04-25)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ การวิจัยระบบสุขภาพประจำปี 2556 การจัดการความรู้สู่ระบบสุขภาพที่เป็นธรรม วันที่ 25-26 เมษายน 2556 ณ โรงแรมเซ็นทราศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
    • ความเห็นในเรื่อง บทบาท หน้าที่ และกิจกรรมต่อบริการปฐมภูมิของร้านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 

      วิวรรธน์ อัครวิเชียร; ธารินี อัครวิเชียร; ชาญชัย จารุภาชน์; ขนิษฐา เจิมขุนทด; พักตร์วิภา เจริญธรรม; Wiwat Arkaravichien; Tarinee Arkaravichien; Chanchai Jarupach; Khanitha Jermkuntood; Parkwipa Charoenthum (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      แม้ว่าร้านยาจะเป็นที่ให้บริการสุขภาพเบื้องต้นแก่ประชาชน แต่ร้านยาก็ไม่ได้ถูกจัดให้เป็นหน่วยบริการภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพใดๆ ภายหลังที่ประเทศไทยมีระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้มีความพยายามที่จะทดลองร้านยาคุณภาพเป็น ...
    • ความแตกฉานทางสุขภาพของคนไทย 

      นภาพร วาณิชย์กุล; สุชาดา ภัทรมงคลฤทธิ์; จเร วิชาไทย; บุศราภรณ์ เพชรรุ่ง; สายชล คล้อยเอี่ยม; รอย แบทเทอร์แฮม; ริชาร์ด ออสบอร์น (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557)
      เพื่ออธิบายแนวคิดความแตกฉานทางสุขภาพของคนไทยสำหรับคนไทย 5 กลุ่ม ประกอบด้วยคนไทยที่ดูมีสุขภาพดี คนพิการทางการมองเห็น การเคลื่อนไหว การได้ยิน และผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับภาวะหลอดเลือดแดงตีบแข็ง (โรคหลอดเลือดหัวใจ ...
    • ความแตกต่างของการตายในผู้สูงอายุไทยตามลักษณะประชากร เศรษฐกิจสังคม และสถานะสุขภาพ 

      ปัทมา ว่าพัฒนวงศ์; Pattama Vapattanawong; อุทัยทิพย์ รักจรรยาบรรณ; Uthaithip Rakchanyaban; ปราโมทย์ ประสาทกุล; Pramote Prasartku; เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; Yawarat Porapakkham; วิชัย เอกพลากร; Wichai Aekplakorn (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การศึกษาตรวจสอบความแตกต่างของการตายของผู้สูงอายุไทยอายุ 60 ปีขึ้นไป ตามลักษณะประชากร เศรษฐกิจ สังคม และสุขภาพ ในช่วง พ.ศ. 2547-2549 จากข้อมูล 2 แหล่งที่เชื่อมโยงกัน ได้แก่ ข้อมูลผลการสำรวจสภาวะสุขภาพอนามัยของประชาชนไทยโด ...
    • ความแตกต่างของการใช้พลังงานจากกิจกรรมทางกายระหว่างคนเมือง/คนชนบทในประเทศไทย: ข้อมูลจากการสำรวจอนามัยและสวัสดิการ พ.ศ. 2558 

      ฐิติภรณ์ ตวงรัตนานนท์; Titiporn Tuangratananon; นุชราภรณ์ เลี้ยงรื่นรมย์; Nucharapon Liangruenrom; ฐิติกร โตโพธิ์ไทย; Thitikorn Topothai; ชมพูนุท โตโพธิ์ไทย; Chompoonut Topothai; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananonta; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2561-03)
      มีหลักฐานเชิงประจักษ์เป็นจำนวนมากที่แสดงให้เห็นประโยชน์ของการมีกิจกรรมทางกาย หลายการศึกษาระบุว่า ปัจจัยทางสังคมและสิ่งแวดล้อม ถือเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการมีกิจกรรมทางกาย การกำหนดนโยบายจึงต้องคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ การศึกษานี้ ...
    • ความแตกต่างของต้นทุนการรักษาพยาบาลระหว่าง 3 ระบบหลักประกันสุขภาพสำหรับบริการผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยในของสถานพยาบาลสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 

      ทีปกร จิร์ฐิติกุลชัย; Theepakorn Jithitikulchai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-12)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความแตกต่างของต้นทุนการรักษาพยาบาลด้วยสิทธิการรักษาพยาบาลของแต่ละระบบหลักประกันสุขภาพของรัฐ ได้แก่ โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าหรือบัตรทอง (universal coverage scheme, UCS) ...
    • ความแตกต่างของพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทย: ลักษณะประชากร เศรษฐกิจและสังคม และสถานะสุขภาพส่งผลอย่างไร 

      ชัชวาลย์ เผ่าเพ็ง; Chatchawarn Paopeng; สุลัดดา พงษ์อุทธา; Suladda Pongutta; สุพล ลิมวัฒนานนท์; Supon Limwattananon; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; Chulaporn Limwattananon; สุรศักดิ์ ไชยสงค์; Surasak Chaiyasong; กัญจนา ติษยาธิคม; Kanjana Tisayaticom; วลัยพร พัชรนฤมล; Walaiporn Patcharanarumol; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; Viroj Tangcharoensathien (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-09)
      พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมเป็นสาเหตุสำคัญที่นำไปสู่โรคอ้วนและโรคไม่ติดต่อเรื้อรังซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นในประเทศไทย การศึกษาครั้งนี้ได้วิเคราะห์ความเกี่ยวข้องระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากรไทยที่มีอายุ ...
    • ความแตกต่างทางพันธุกรรม: สู่การแพทย์จีโนมิกส์ ถอดรหัสพันธุกรรมรักษาตรงเหตุ 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. หน่วยงานขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการบูรณาการจีโนมิกส์ประเทศไทย; Health Systems Research Institute. Genomics Thailand Coordinating Unit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-10)
      ปัจจุบันเทคโนโลยีในการถอดลำดับยีนหรือสารพันธุกรรมมีความก้าวหน้ามากขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำให้นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย ตลอดจนแพทย์ สามารถค้นพบการกลายพันธุ์ในยีนก่อโรคยีนใหม่ที่เป็นสาเหตุของโรคต่างๆ หรือแม้กระทั่งโรคที่หาพบได้ยากในคนไทย ...