Now showing items 3892-3911 of 5330

    • ภาวะโลกร้อน : ผลกระทบต่อพืช 

      สายชล เกตุษา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      ภาวะโลกร้อน คือ อุณหภูมิบรรยากาศผิวโลกสูงขึ้น อุณหภูมิสูงสามารถทำให้พืชได้รับอันตรายและอาจทำให้พืชตายได้ โดยกลวิธีหลายทาง แม้ว่าในทางธรรมชาติ พืชมีความสามารถในการป้องกันตัวเองให้อยู่รอดจากอันตรายที่เกิดจากอุณหภูมิสูง ...
    • ภาวะโลกร้อนกับภัยน้ำท่วม 

      สุทัศน์ ยกส้าน (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
    • ภาวะโลกร้อนกับเพศทารกแรกคลอดในประเทศไทย 

      อรวรรณ ศิริรัตน์พิริยะ; สมชัย บวรกิตติ; Orawan Siriratpiriya; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-03)
      ในรอบศตวรรษที่ผ่านมา (พ.ศ. 2449-2548) อุณหภูมิเฉลี่ยบนผิวโลกเพิ่มขึ้นสูงสุดในช่วง พ.ศ. 2538-2549 โดยปีที่ร้อนที่สุดคือ พ.ศ. 2541 และ พ.ศ. 2548 คณะผู้วิจัยสนใจว่าภาวะโลกร้อนช่วงนี้เป็นปัจจัยอิงกำหนดเพศภาวะของคนไทยเพียงใด ...
    • ภาวะโลกร้อนกับเพศประชากร 

      สมชัย บวรกิตติ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551-12)
    • ภาวะโลกร้อนกับโรคมาลาเรีย 

      สุพัตรา ทองรุ่งเกียรติ; เสฏฐวุฒิ แก้ววิเศษ; สมชัย บวรกิตติ; Supatra Thongrungkiat; Setthawut Keawviset; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      อุณหภูมิเฉลี่ยของผิวโลกในช่วงศตวรรษที่ผ่านไปเพิ่มขึ้นเพิ่มขึ้น 0.74-0.18 องศาเซลเซียส (1.33-0.32 องศาฟาเรนไฮด์) ในขณะที่อุบติการณ์ของภัยธรรมชาติและโรคระบาดก็เพิ่มขึ้น มีผู้ตั้งข้อสังเกตว่าภาวะโลกร้อนจะส่งผลกระทบต่อปัญหาโ ...
    • ภาวะโลกร้อนและผลกระทบ 

      พูนพิภพ เกษมทรัพย์; Poonpipope Kasemsap (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2553-06)
    • ภาวะโลกร้อนและผลกระทบต่อจุลชีพก่อโรคในคน 

      ชาญวิทย์ ตรีพุทธรัตน์; Chanvit Treeputtarat; จันทพงษ์ วะสี; Chantaphong Wasi (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2554-03)
      ภาวะโลกร้อนเกิดจากการทำลายชั้นโอโซนในบรรยากาศจากสารกลุ่มฆลอโรฟลูออโรคาร์บอนและเกิดจากภาวะเรือนกระจกจากการสะสมของแก๊สคาร์บอนไดออกไซค์ มีเธน และไนตรัสออกไซค์ การเปลี่ยนแปลงนี้พบในเวลา 150 ปีที่ผ่านมา และพบสูงขึ้นมากในระยะ ...
    • ภูมิต้านทานในการให้วัคซีนโควิด-19 ชนิดต่างๆ กระตุ้นเข็ม 3 ในผู้ใหญ่ที่ได้รับวัคซีนครบ 2 เข็ม ตามคำแนะนำของกระทรวงสาธารณสุข 

      ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; ภรจริม นิลยนิมิต; Pornjarim Nilyanimit; ฤทธิเดช ยอแสง; Ritthideach Yorsaeng; จิระ จันทร์แสนโรจน์; Jira Chansaenroj; หนึ่งฤทัย สุนทรวงศ์; Nungruthai Suntronwong; ทักษพร ทัศนาธร; Thaksaporn Thatsanatorn; ดลชิดา ศรีเหมือน; Donchida Srimuan; สุวิชาดา อัศวโกสีย์; Suvichada Assawakosri; สิทธิชัย กนกอุดม; Sitthichai Kanokudom; วิทักษ์ วิทักษบุตร; Withak Withaksabut (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-02)
      งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความปลอดภัยและผลภูมิต้านทานหลังได้รับวัคซีนโควิด-19 ชนิดโปรตีนซับยูนิตหรือวัคซีนโคโวแวกซ์ เมื่อให้เป็นเข็มกระตุ้นในประชากรผู้ใหญ่ที่เคยได้รับวัคซีนมาแล้ว 2 เข็มในสูตรต่างๆ โดยศึกษาแบบ ...
    • ภูมิปัญญา หมอพื้นบ้าน คนพิการ 

      โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์; ปารณัฐ สุขสุทธิ์ (แผนงานสร้างเสริมสุขภาพคนพิการในสังคมไทย, 2551-06)
      เรื่องราวบอกเล่าประสบการณ์ชีวิตที่สะท้อนแง่มุมภูมิปัญญาสุขภาพหมอพื้นบ้าน คนพิการ และชุมชน
    • ภูมิปัญญาท้องถิ่นและระบบสุขภาพชุมชน 

      ฉัตรชัย สวัสดิไชย (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-18)
    • ภูมิปัญญาท้องถิ่นและระบบสุขภาพชุมชน 

      ปิ่นปัก ดีหอม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-02-18)
    • ภูมิปัญญาประชาคม สู่สุขภาพประชาชาติไทย 

      สำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพ; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543-08)
      เอกสารประกอบการประชุม ภูมิปัญญาประชาคม สู่สุขภาพประชาชาติไทย วันที่ 15-17 สิงหาคม 2543 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพมหานคร ประกอบด้วย หมวด ก ปัญหาสุขภาพ 1. สถานะสุขภาพของคนไทย 2. สุขภาพวัยเด็ก 3. ผู้สูงอายุ ...
    • ภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท 

      สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; Suwit Wibulpolprasert (อุษาการพิมพ์, 2547)
      ภูมิปัญญาไทย สุขภาพวิถีไท เป็นหนังสือรวบรวมผลงานการศึกษา 5 ประเด็นหลัก ในการประชุมวิชาการประจำมีการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก พ.ศ. 2547 ได้แก่ 1. ทิศทางและยุทธศาสตร์การสร้างและการจัดการองค์ความ ...
    • ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงและชีวิต 

      สมชัย บวรกิตติ; Somchai Bovornkitti (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
    • มดลูก กบูร กับการใช้ยาของผู้หญิงชนบทอิสาน 

      ลือชัย ศรีเงินยวง (2539)
      ความเชื่อในวัฒนธรรมอิสานเรื่อง "กบูร" ได้เปิดช่องให้มีการแสวงประโยชน์จากความเชื่อดังกล่าว และนำไปสู่การให้ยาที่ไม่เหมาะสมอย่างสิ้นเปลือง โดยเฉพาะยาปฏิชีวนะที่จะมีผลต่อสุขภาพในระยะยาว ทั้งในแง่การดื้อยาและผลข้างเคียง
      Tags:
      Top hit
    • มหาอุทกภัยปี 2554 : บทเรียนจากประสบการณ์ 

      ไพบูลย์ สุริยะวงศ์ไพศาล (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-08)
      ปัญหาอุทกภัยปี พ.ศ. 2554 ได้สร้างความเสียหายแก่ประเทศและประชาชนจำนวนมาก แม้ว่าหน่วยงานต่างๆ จะได้พยายามอย่างเต็มที่ในการเยียวยาความเดือดร้อนดังกล่าว เมื่อปัญหาดังกล่าวทุเลาลงหน่วยงานหลายภาคส่วนจึงให้ความสนใจถอดบทเรียนเพื ...
    • มองปฏิรูประบบสุขภาพผ่านรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2559 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
    • มองมุมใหม่ จัดการใหม่ ในระบบสุขภาพชุมชน 

      สุมาลี ประทุมนันท์; อารดา สุคนธสิทธิ์; นคร รัตนพฤกษ์ (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2554-10)
      รวบรวมแนวคิดและประสบการณ์ตรงของบุคคล องค์กร ในการใช้แนวคิดใหม่ๆ มุมมองใหม่ๆ ในการพัฒนางานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน มีจุดมุ่งหมายเพื่อสะท้อนให้เห็นว่า ภายใต้การจัดการแบบใหม่ ผลลัพธ์อันน่ามหัศจรรย์เกิดขึ้นได้เสมอ
    • มองไกล วิจัยสุขภาพ 

      อินทิรา ยมาภัย; ศิตาพร ยังคง; สุธาสินี คำหลวง; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; ชุติมา คำดี; ทรงยศ พิลาสันต์; คณาภรณ์ ธนูธรรมเจริญ; ธนพร บุษบาวไล; สรัญญา ใจกล้า; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2557-09)
      ระบบสุขภาพเป็นกลไกในการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ รวมถึงแก้ไขปัญหาความยากจนและลดความเหลื่อมลํ้าในสังคม ความรู้ที่ได้จากการวิจัยสามารถเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับระบบสุขภาพได้ อย่างไรก็ตาม งานวิจัยด้านสุขภาพของประเทศไทยมักจะดำ ...