Now showing items 397-416 of 5330

    • กระบวนการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการเกื้อหนุนด้านการใช้ยาของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง 

      ชไมพร กาญจนกิจสกุล; Chamaiporn Kanchanakijsakul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2557-12)
      วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ คือ เพื่อศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมของครอบครัวใน การเกื้อหนุนด้านการใช้ยาของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง และเพื่อสร้างคู่มือว่าด้วยครอบครัว กับการเกื้อหนุนด้านการใช้ยาในผู้สูงอายุที่ป่วยด้ว ...
    • กระบวนการยุติธรรมสิ่งแวดล้อมสุขภาพบทเรียนจากคดีมาบตาพุด 

      คนึงนิจ ศรีบัวเอี่ยม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552-12)
      กรณีมาบตาพุดอาจกล่าวได้ว่า เป็นภาพสะท้อนการดำเนินนโยบายการพัฒนาประเทศที่ไม่ได้คำนึงถึงหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน แต่เป็นการพัฒนาที่มุ่งเน้นการใช้ทรัพยากรอย่างเข้มข้นจนเลยขีดความสามารถที่สิ่งแวดล้อมจะเยียวยาและจัดการโดยตัวมันเองได้ ...
    • กระบวนการสื่อสารการรณรงค์ด้านสุขภาพ 

      วาสนา จันทร์สว่าง; Wasana Chansawang; นาตยา เกรียงชัยพฤกษ์; ยุทธพงษ์ ขวัญชื้น; วิทยา เทียนจวง; พงศ์พันธ์ อันตะริกานนท์; นิทัศน์ ศิริโชติรัตน์; Nataya Khiangchiphuek; Yutapong Khanchuen; Witaya Thianchawng; Pongphan Antarikhanon; Nitan Sirichorat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการสื่อสารการรณรงค์ขององค์กรภาครัฐ เอกชน ธุรกิจ และท้องถิ่นหรือชุมชน ผู้นำหรือผู้ปฏิบัติงานรณรงค์และกลุ่มเป้าหมายในการรณรงค์ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยเฉพาะเจาะจง โดยมีเกณฑ์ในการเลื ...
    • กระบวนการส่งเสริมสุขภาพช่องปากและการป้องกันโรคในช่องปากในหน่วยคู่สัญญาบริการระดับปฐมภูมิภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ระยะที่ 1 : วิเคราะห์สถานการณ์ 

      ทรงวุฒิ ตวงรัตนพันธ์; Thorngwut Doungratanapan (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      การศึกษาสถานการณ์และการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปากในหน่วยคู่สัญญาบริการระดับปฐมภูมิภายใต้นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้านี้ เป็นการศึกษาวิจัยแบบคุณภาพ ทั้งนี้พื้นที่เพื่อการศึกษาเป็นแบบการคัดเลือกเฉพาะ (purposive ...
    • กระบวนการออกจากระบบราชการขององค์การมหาชน: กรณีศึกษาโรงพยาบาลบ้านแพ้ว 

      จเด็จ ธรรมธัชอารี; Jadej Thammatacharee; แพร จิตตินันทน์; มยุรี ธนะทิพานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การปรับเปลี่ยนโรงพยาบาลบ้านแพ้วให้เป็นองค์การมหาชน เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงที่มีพัฒนาการอย่างเป็นระบบ ตั้งแต่การมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารโรงพยาบาลในอดีต จนมาถึงการปรับเปลี่ยนองค์กร การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ...
    • กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของพหุภาคีในการร่วมปฏิบัติการเพื่อลดการใช้สารเคมีควบคุมศัตรูพืชในจังหวัดพิจิตร 

      สุรเดช เดชคุ้มวงศ์; Suradej Dejkumwongse; สมนึก แจ่มจำรัส; สุนทร ตุตะพะ; จารุภา เหลาหพจนารถ; สุนีย์ สุขสว่าง (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของพหุภาคีในการร่วมปฏิบัติการเพื่อลดการใช้สารเคมีในการควบคุมศัตรูพืชในจังหวัดพิจิตร การศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการวิเคราะห์สถานการณ์ เงื่อนไข ปัจจัยและกระบวนการเชิงระบบ ...
    • กระบวนทัศน์สุขภาพและนิเวศวิทยาแนวลึก 

      ณัฐฬส วังวิญญู; Natlos Wangwinyu (สถาบันขวัญเมือง, 2546)
      ในช่วงระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมา กระแสความคิดกระบวนทัศน์ใหม่ดูเหมือนจะได้รับการกล่าวถึงมากขึ้นเรื่อยๆ ในสังคม โดยเฉพาะในแวดวงนักวิชาการ และในขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมในส่วนต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษา สุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ...
    • กระบวนทัศน์อิสลามเพื่อการพัฒนา 

      ซาการียา บิณยูซูฟ; คอยรูซามัน มะ; อับดุลเลาะห์ สารีมิง; อับดุลรอเซะ กาเดร์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, 2550)
      ส่วนหนึ่งของปัญหาในจังหวัดสามชายแดนภาคใต้นั่นคือ ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ชุดบทเรียนเล่มนี้เป็นคำตอบของความรู้ส่วนหนึ่งในการแก้ปัญหา โดยใช้หลักคิด การพัฒนาโดยเอาวัฒนธรรมเป็นตัวตั้ง และกระบวนทัศน์อิสลามเพื่อการพัฒนา ...
    • กระบวนทัศน์เกี่ยวกับสุขภาพและภูมิปัญญาพื้นบ้านเกี่ยวกับสุขภาพ : มุมมองจากทฤษฎีสังคม 

      ฉลาดชาย รมิตานนท์; Chalatchai Ramitanon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      หนังสือเล่มนี้เป็นการรวบรวมและเรียบเรียงแนวความคิดทางทฤษฎีสังคมศาสตร์ที่อาจสามารถนำมาใช้เพื่อศึกษาทำความเข้าใจมิติทางด้านสุขภาพอนามัยของสังคมไทย โดยให้ความสนใจเป็นพิเศษกับการชี้ประเด็นเบื้องต้นบางประการที่อาจนำมาใช้ศึกษา ...
    • กระบวนทัศน์เรื่องความตายและมิติแห่งสุขภาวะ 

      ธนา นิลชัยโกวิทย์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545-08)
    • กลยุทธ์การกำหนดและควบคุมราคายา : ก่อนขาย (หลังขึ้นทะเบียนยา) เมื่อคัดเลือกเข้าบัญชียาแห่งชาติ และโดยผู้จ่ายค่ายารายใหญ่ 

      ชะอรสิน สุขศรีวงศ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2555-02-27)
      วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบกลยุทธ์การกำหนดและควบคุมราคายาแบบต่างๆ ที่ต่างประเทศใช้ในระหว่างการขึ้นทะเบียน (ก่อนยาออกจาหน่าย), เมื่อคัดเลือกเข้าบัญชียาแห่งชาติ, และโดยผู้จ่ายค่ายารายใหญ่ 2. ใช้กรณีศึกษาวิเ ...
    • กลยุทธ์การผลักดัน (ร่าง) พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ 

      ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์; Tippawan Lorsuwannarat; สันติชัย อินทรอ่อน; สุขยืน เทพทอง; Suntichai Inthornon; Sookyuen Tepthong (คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2547)
      รายงานฉบับนี้เป็นการนำเสนอผลการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับกลยุทธ์การผลักดัน (ร่าง) พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ โดยนำแนวความคิดของการจัดการเชิงกลยุทธ์และเทคนิค TOWS Martix มาใช้ในการวิเคราะห์ ผลการศึกษาได้เสนอกลยุทธ์ 4 ทางเลือก คือ ...
    • กลยุทธ์พัฒนางานวิจัยจากงานประจำโรงพยาบาลศูนย์หาดใหญ่ 

      ไพโรจน์ บุญลักษณ์ศิริ (โรงพยาบาลหาดใหญ่, 2552-12-12)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเรื่อง “เคล็ดลับสำหรับคุณอำนวย R2R” ครั้งที่ 1/2552 โครงการสนับสนุนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยระดับประเทศ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) วันที่ 12-13 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ณ ห้องปิติมหาการุญ 2000 ...
    • กลยุทธ์ส่งเสริมงานวิจัยจากงานประจำในบริบทสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข 

      วรรณพร บุญเรือง; Wannaporn Boonrueng (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2552)
      แนวคิดของแผนงานวิจัยจากงานประจำ เริ่มเมื่อ พ.ศ. 2550 โดยสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ได้บรรจุแผนงานพัฒนาเครือข่ายวิจัยในรูปแบบ วิจัยจากงานประจำ หรือ Routine to Research (R2R) โดยมีพันธกิจหลัก คือ สร้างเครือข่ายการจัด ...
    • กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม : การพัฒนาและประโยชน์ในประเทศไทย 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      การพัฒนากลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมในประเทศไทย เริ่มอย่างเป็นระบบในปี 2536 เมื่อประกาศใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถปี 2535 โดยการสนับสนุนของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข เพื่อเป็นทางเลือกของวิธีการจ่ายเงินแก่สถานพยาบาล ...
    • กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมของผู้ที่สังคมต้องช่วยเหลือเกื้อกูล การพัฒนาและการนำไปใช้ 

      ศุภสิทธิ์ พรรณารุโณทัย; Supasit Pannarunothai (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2541)
      การวินิจฉัยโรคร่วมของผู้ที่สังคมต้องช่วยเหลือเกื้อกูลการรักษาพยาบาลผู้ป่วยในมีความสลับซับซ้อนและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายสูง ในสหรัฐอเมริกา สวัสดิการรักษาพยาบาลผู้สูงอายุประสบปัญหาค่าใช้จ่ายสูงเพราะวิธีการคุ้มครองค่ารักษาพยาบ ...
    • กลุ่มเปราะบาง (Vulnerable Groups) คือใคร มีข้อพิจารณาด้านจริยธรรมอย่างไร 

      จรวยพร ศรีศศลักษณ์; Jaruayporn Srisasalux (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2556-01-16)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการฝึกอบรมคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ระดับเขตและจังหวัด โดยความร่วมมือระหว่างสำนักผู้ตรวจราชการประจำเขตตรวจราชการที่ 4 และสถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ วันที่ 16 -17 ...
      Tags:
      Top hit
    • กลุ่มเปราะบางกับความเหลื่อมล้ำในสถานการณ์โควิด 

      ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sri-ngernyuang; ปกรณ์ สิงห์สุริยา; Pagorn Singsuriya; ปิยณัฐ ประถมวงษ์; Piyanat Prathomwong; ชุติมา พัฒนพงศ์; Chutima Pattanapong; วาศินี กลิ่นสมเชื้อ; Vasinee Klinsomchua; สายสุดา วงษ์จินดา; Saisuda Vongjinda (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      งานเสวนาออนไลน์ “กลุ่มเปราะบาง” กับความเหลื่อมล้ำในสถานการณ์โควิด ซึ่งเป็นที่มาของเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ และเป็นส่วนหนึ่งของแผนดำเนินงานวิจัยภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจัยและขับเคลื่อนนโยบายสังคมไม่ทอดทิ้ง (Research ...