Now showing items 4042-4061 of 5322

    • ระบบยาของประเทศไทย 

      คณะทำงานเพื่อศึกษาวิเคราะห์ระบบยาของประเทศไทย; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ; สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2538)
    • ระบบยาของประเทศไทย 2563 

      คณะกรรมการจัดทำรายงานระบบยาของประเทศไทย 2563 (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2563-08)
      หนังสือ “ระบบยาของประเทศไทย 2563” หรือ “Thai Drug System 2020” เล่มนี้ นับเป็นหนังสือรายงานสถานการณ์ต่างๆ เกี่ยวกับระบบยาในประเทศไทยที่จัดทำขึ้นเป็นเล่มที่ 3 ภายหลังจากเล่มที่ 1 ที่ออกเผยแพร่เมื่อปี พ.ศ. 2537 และเล่มที่ 2 ...
    • ระบบยาของประเทศไทย บทวิเคราะห์เพื่อการพัฒนา 

      มรกต กรเกษม; สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ; นิตยา แย้มพยัคฆ์ (2537)
      ระบบยาเป็นระบบย่อยหนึ่งที่มีความสำคัญต่อระบบสาธารณสุข การวิเคราะห์ระบบยาอย่างรอบด้านโดยการสนับสนุนของสถาบันวิจัยสาธารณสุขไทยชิ้นนี้ ได้ให้ความรู้อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบยาและระบบสาธารณสุขของไทยในอนาคตเป็นอย่างมาก ...
    • ระบบยาในจังหวัดสงขลา 

      สุรฉัตร ง้อสุรเชษฐ์; Surachat Ngorsuraches; ณรงค์ศักดิ์ สิงห์ไพบูลย์พร; อรรถพล ศรเลิศล้ำวาณิช; ยูซูฟ นิมะ; Narongsak Singhpaiboonporn; Attaporn Sornlertlumvanich; U-soop Nima (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547)
      โครงการศึกษาระบบยาในจังหวัดสงขลานี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาหาปัญหาในระบบยาของโรงพยาบาลในจังหวัด ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่มีขอบเขตกว้างในระบบยา ทั้งในแง่ของมูลค่าและปริมาณของยาในระบบ ในการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับระบบยานั้นจะอ ...
    • ระบบราคาอ้างอิงของยาในประเทศไทย 

      เพชรรัตน์ พงษ์เจริญสุข; อังคณา แสงนภากาศ; อรลักษณ์ พัฒนาประทีป; นพคุณ ธรรมธัชอารี (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข และสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2556)
      ค่าใช้จ่ายด้านยาของประเทศไทยมีมูลค่าเพิ่มสูงกว่าร้อยละสิบในช่วงหลายปีที่ผ่านมา โดยมีโรงพยาบาลเป็นแหล่งกระจายหลักของระบบการบริการด้านสุขภาพด้านยา คิดเป็นมูลค่ากว่าร้อยละ 70 ของตลาดยาแผนปัจจุบันทั่วประเทศ บริบทของระบบประก ...
    • ระบบวิจัยคลินิกสหสถาบันของประเทศ : ประสบการณ์จากเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน (ตอนที่ 1) 

      ปิยะทัศน์ ทัศนาวิวัฒน์; Piyatat Tasanavivat; ราม รังสินธุ์; Ram Rangsin; สุธีร์ รัตนะมงคลกุล; Suthee Ratanamongkolkul; อรุณ จิรวัฒน์กุล; Aroon Chirawatkul; ลี่ลี อิงศรีสว่าง; Lily Ingsrisawang (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2550)
    • ระบบวิจัยสุขภาพ : สมองของระบบสุขภาพ 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; ภาวิกา ปิยมาพรชัย; ลือชา วนรัตน์; เอื้องฟ้า สิงห์ทิพย์พันธุ์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2547-10)
      เป็นเอกสารวิชาการประกอบหัวข้อระบบวิจัยสุขภาพ : สมองของระบบสุขภาพ ซึ่งจะทำหน้าที่แสดงตุ๊กตาทางความคิด ถึงระบบวิจัยสุขภาพที่พึงประสงค์ โดยนำเสนอผ่านหัวข้อ รูปแบบและกลไกการจัดการของระบบวิจัยสุขภาพที่พึงประสงค์ของประเทศไทย ...
    • ระบบวิจัยสุขภาพกับการพัฒนาประเทศ 

      วัชรา ริ้วไพบูลย์; Watchara Riewpaibul (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-02-22)
      เอกสารนำเสนอประกอบการอบรมโครงการพัฒนาผู้จัดการงานวิจัย รุ่นที่ 3 (Research Manager : RM)ระหว่างวันที่ 22-24 กุมภาพันธ์ 2560 ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี
    • ระบบวิจัยสุขภาพกับการพัฒนาประเทศ 

      พีรพล สุทธิวิเศษศักดิ์; Peerapol Sutiwisesak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2560-06-28)
      เอกสารนำเสนอประกอบการอบรมหลักสูตรผู้จัดการงานวิจัย รุ่นที่ 4 ระหว่างวันที่ 28-30 มิถุนายน 2560 ณ ห้องประชุมแคทลียา 1 โรงแรมรามาการ์เด้นส์
    • ระบบวิจัยสุขภาพเพื่อการปฏิรูปสุขภาพที่ยั่งยืนในประเทศไทย 

      พงษ์พิสุทธิ์ จงอุดมสุข; Pongpisut Jongudomsuk (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2551)
      การวิจัยสุขภาพมีส่วนช่วยสนับสนุนการพัฒนาระบบสุขภาพของประเทศไทยอย่างมากในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านไป อย่างไรก็ตาม บริบทต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งในระดับสากลและระดับประเทศ รวมทั้งความซับซ้อนของระบบสุขภาพที่เพิ่มขึ้น ทำให้ความต้ ...
    • ระบบวิจัยและทิศทางการพัฒนาวิจัยกับยุทธศาสตร์วิจัยของประเทศไทย 

      สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ; Soottiporn Chittmittrapap (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, สภาวิจัยแห่งชาติ, 2559-05-14)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุม HSRI Retreat หัวข้อ ระบบวิจัยและทิศทางการพัฒนาวิจัย กับยุทธศาสตร์วิจัยของประเทศไทย วันที่ 14 พฤษภาคม 2559 ณ ห้องดวงกมล โรงแรมเดอะสุโกศล กรุงเทพมหานคร
    • ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลของข้าราชการและรัฐวิสาหกิจ 

      นิภา ศรีอนันต์; Nipa Srianant (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
      รายงานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์การศึกษา 1. ภาพความเป็นไปโดยรวมของโครงการสวัสดิการข้าราชการ 2. เพื่อศึกษาแนวทางการดำเนินงานในช่วงเวลาที่ผ่านมาและแนวทางในปัจจุบันเพื่อที่จะประเมินความคืบหน้าของการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ...
    • ระบบสารสนเทศเพื่อการติดตามราคาและวิเคราะห์ขีดความสามารถในการจัดซื้อผลิตภัณฑ์ยาของภาครัฐตามแนวทางของ PAC 

      รุ่งเพ็ชร สกุลบำรุงศิลป์; นุศราพร เกษสมบูรณ์; ศิริพา อุดมอักษร; อินทิรา กาญจนพิบูลย์; ไพทิพย์ เหลืองเรืองรอง (2555)
      กลไกการควบคุมค่าใช้จ่ายเป็นมาตรการที่ใช้กันทั่วไปเพื่อให้ระบบประกันสุขภาพมีประสิทธิภาพ ภายใต้มาตรการเหล่านี้ ถ้าผู้ให้บริการขาดศักยภาพในการจัดการ ผลกระทบจะเกิดกับคุณภาพการให้บริการแก่ผู้ป่วย ดังนั้นการเพิ่มศักยภาพในการจั ...
    • ระบบสารสนเทศเพื่อส่งเสริมสุขภาพ 

      รวินันท์ ศิริกนกวิไล; ทวีเกียรติ บุญยไพศาลเจริญ (2540)
      ระบบสารสนเทศเพื่อส่งเสริมสุขภาพ เป็นปัญหาเรื้อรังที่ยังมองไม่เห็นทางแก้อย่างจริงจัง และเป็นรูปธรรม บทความนี้วิเคราะห์แนวคิดและช่องทางของการเกิด การไหลเวียน และการใช้ประโยชน์ของข้อมูลผ่านผู้เกี่ยวข้องระดับต่างๆ ทั้งระดับปฏิบัติการ ...
    • ระบบสารสนเทศแบบคอมพิวเตอร์ในโรงพยาบาลและคุณภาพการดูแลรักษาผู้ป่วย 

      กฤษณ์ พงศ์พิรุฬห์; Krit Pongpirul; อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล; จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Anuwat Supachutikul; Jiruth Sriratanaban; สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2548)
      ปัจจุบันมีการนำเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ในกระบวนการดูแลรักษาและให้บริการในโรงพยาบาลต่างๆ ในประเทศไทย เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการ โดยเฉพาะการจัดทำรายงานประกอบการเบิกจ่ายงบประมาณตามโครงการประกันสุขภาพต่างๆ โดยที่ยังไม่แน่ ...
    • ระบบสุขภาพ : ความมุ่งหมายใหม่ของสังคมไทย 

      แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพและระบบการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2545)
    • ระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2576 

      อินทิรา ยมาภัย; Inthira Yamabhai; สุธาสินี คำหลวง; Suthasinee Kumluang; ชุติมา คำดี; Chutima Kumdee; ศิตาพร ยังคง; Sitaporn Youngkong; ทรงยศ พิลาสันต์; Songyot Pilasant; พิศพรรณ วีระยิ่งยง; Pitsaphun Werayingyong; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; Sripen Tantivess; ยศ ตีระวัฒนานนท์; Yot Teerawattananon (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2559-09)
      ระบบสุขภาพของประเทศไทยในปัจจุบันได้รับผลกระทบจากปัจจัยแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเนื่อง จึงมีความจำเป็นในการคาดการณ์อนาคตของประเทศเพื่อให้ทราบสถานการณ์สำคัญที่ต้องเผชิญในอนาคตและรับมือหรือใช้ประโยชน์จากปัจจัยเหล่านั้น ...
    • ระบบสุขภาพปฐมภูมิภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute; มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; International Health Policy Program Foundation (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2567)
      ข้อเสนอเชิงนโยบาย (Policy Brief) ระบบสุขภาพปฐมภูมิภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า เนื้อหาประกอบด้วย 1) การดำเนินงานด้านระบบสุขภาพปฐมภูมิภายใต้กองทุนประกันสุขภาพภาครัฐ 2) ความท้าทายของระบบสุขภาพปฐมภูมิภายใต้ระบบหลักประ ...