• COVID-19 Evidence Update: 10% ของชาวอิสราเอลที่ไม่รับวัคซีน ส่งผลอย่างไรกับวิกฤตโควิดระลอกใหม่ในประเทศ 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      ในปัจจุบัน 15% (ประมาณ 1,105,000 คน) ของชาวอิสราเอลที่มีอายุเกิน 12 ปี และ 10% (ประมาณ 755,000 คน) ที่มีอายุเกิน 20 ปี ยังคงไม่ได้รับวัคซีน ถึงแม้ว่าจะมีสิทธิรับวัคซีนก็ตาม และคนกลุ่มนี้เองที่มีรายงานว่าเป็นคนส่วนใหญ่ที่ ...
    • COVID-19 Evidence Update: การฉีดวัคซีนโควิด-19 แบบสลับหรือเปลี่ยนชนิดในต่างประเทศ 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      ในต่างประเทศมีการฉีดวัคซีนต่างชนิดหรือต่างบริษัทผู้ผลิต โดยเหตุผลส่วนใหญ่ คือ 1. ป้องกันการเกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากวัคซีน (AstraZeneca ในเข็มสอง) 2. แก้ปัญหาวัคซีนขาดคราว 3. ฉีดกระตุ้นภูมิ (booster dose) ในประชากรกล ...
    • COVID-19 Evidence Update: การศึกษาเรื่องการสลับวัคซีนโควิด-19 บอกอะไรเราบ้าง 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      1. การศึกษาเรื่อง Com-COV1 พบว่าการฉีดวัคซีนแบบสลับด้วยวัคซีน AstraZeneca เข็มแรก และ Pfizer-BioNTech เป็นเข็มที่ 2 ห่างกัน 4 สัปดาห์ ให้ผลในการสร้างภูมิต้านทานบางชนิด ไม่ด้อยกว่าการฉีดวัคซีน AstraZeneca ทั้งสองเข็ม ...
    • COVID-19 Evidence Update: มีประเทศใดบ้างที่แนะนำให้มีการฉีดวัคซีนกระตุ้นภูมิคุ้มกันโควิด-19 เข็มที่ 3 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      ณ วันที่ 14 กรกฎาคม 2564 มี 7 ประเทศ ได้แก่ ฝรั่งเศส สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ บาห์เรน ตุรกี สาธารณรัฐโดมินิกัน อินโดนีเซีย และสหราชอาณาจักร ที่มีนโยบายแนะนำให้มีการฉีดวัคซีนภูมิคุ้มกันโควิด 19 เข็มที่ 3 ซึ่งเป็นที่น่าสังเกตว่า ...
    • COVID-19 Evidence Update: รู้หรือไม่ ข้อความแจ้งเตือนสามารถกระตุ้นให้คนมาฉีดวัคซีนมากขึ้นได้ 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      ทุกประเทศมีประชาชนอย่างน้อยร้อยละ 10 ถึง 20 ไม่ยอมรับวัคซีนทั้งที่มีวัคซีนอย่างเพียงพอ ดังนั้นรัฐบาลประเทศต่างๆ จึงพยายามค้นหาวิธีทำให้ประชาชนรับวัคซีนโควิดได้มากที่สุด หนึ่งในกลยุทธ์ที่น่าสนใจและได้รับการพิสูจน์จากงานวิจัย ...
    • COVID-19 Evidence Update: เมื่อวัคซีนทั่วโลก ปะทะ โควิดกลายพันธุ์ วัคซีนชนิดไหนลดอาการป่วยจากสายพันธุ์ต่างๆ ได้เท่าไหร่บ้าง 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program; สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; Health Systems Research Institute (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      ข้อมูลวัคซีนชนิดต่างๆ ในการลดอาการป่วยจากโควิดสายพันธุ์ต่างๆ
    • COVID-19 Research Policy Brief รวมงานวิจัยและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับโควิด-19 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ; Health Intervention and Technology Assessment Program (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      เอกสารงานวิจัย เรื่อง COVID-19 Research Policy Brief รวมงานวิจัยและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเกี่ยวกับโควิด-19 ฉบับนี้ อยู่ภายใต้โครงการวิจัย การศึกษาประเด็นท้าทายเพื่อพัฒนากรอบการติดตามและการประเมินผลของนโยบายวัคซีนโควิด-19 ...
    • Health System Research Post COVID-19 

      ศุภกิจ ศิริลักษณ์; Supakit Sirilak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ 30 ปี สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ก้าวสู่ทศวรรษที่ 4 : ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต (To the Next Decade : Enhance Research for Life) วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ ...
    • POST COVID-19 ความหวัง โอกาส อนาคต สังคมที่เปลี่ยนไป (Social Transformation) 

      ชาญเชาวน์ ไชยานุกิจ; Chanchao Chaiyanukij (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-07-07)
      เอกสารนำเสนอประกอบการประชุมวิชาการ 30 ปี สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) ก้าวสู่ทศวรรษที่ 4 : ร่วมกันวิจัย ยกระดับคุณภาพชีวิต (To the Next Decade : Enhance Research for Life) วันที่ 7-8 กรกฎาคม 2565 ณ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ ...
    • กลุ่มเปราะบางกับความเหลื่อมล้ำในสถานการณ์โควิด 

      ลือชัย ศรีเงินยวง; Luechai Sri-ngernyuang; ปกรณ์ สิงห์สุริยา; Pagorn Singsuriya; ปิยณัฐ ประถมวงษ์; Piyanat Prathomwong; ชุติมา พัฒนพงศ์; Chutima Pattanapong; วาศินี กลิ่นสมเชื้อ; Vasinee Klinsomchua; สายสุดา วงษ์จินดา; Saisuda Vongjinda (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-10)
      งานเสวนาออนไลน์ “กลุ่มเปราะบาง” กับความเหลื่อมล้ำในสถานการณ์โควิด ซึ่งเป็นที่มาของเนื้อหาในหนังสือเล่มนี้ และเป็นส่วนหนึ่งของแผนดำเนินงานวิจัยภายใต้ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการวิจัยและขับเคลื่อนนโยบายสังคมไม่ทอดทิ้ง (Research ...
    • การขยายผลการใช้งานต้นแบบเต็นท์ความดันลบสำหรับแยกผู้ป่วย เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางเดินหายใจในสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 

      ศราวุธ เลิศพลังสันติ; Sarawut Lerspalungsanti; ฉัตรชัย ศรีสุรางค์กุล; Chadchai Srisurangkul; พรพิพัฒน์ อยู่สา; Pornpipat Yoosa; ณรงค์ฤทธิ์ สืบนันตา; Narongrit Suebnunta; ประสิทธิ์ วัฒนวงศ์สกุล; Prasit Wattanawongsakun; ธีระพงษ์ บุญมา; Teerapong Boonma; พีรกิตติ์ วิริยะรัตนศักดิ์; Perakit Viriyarattanasak; ฝอยฝน ศรีสวัสดิ์; Foifon Srisawat; สุธิมา สุขอ่อน; Suthima Suk-on; ฮาซียะห์ แวหามะ; Haziyah Waehama; เปริน วันแอเลาะ; Perin Wan-ae-loh; ดวงกมล วรเกษมศักดิ์; Duanggamon Vorakasemsak (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2566-09)
      จากที่คณะวิจัยได้มีการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเต็นท์ความดันลบสำหรับแยกผู้ป่วยติดเชื้อ (Patient Isolation Chamber for Home & Community Isolation) หรือ “ไฮพีท HI PETE” ขึ้นมาในช่วงสถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ...
    • การดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโควิด-19 ในชุมชนโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย 

      ฉวีวรรณ ศรีดาวเรือง; Chaweewan Sridawruang; จิราพร วรวงศ์; Chiraporn Worawong; เพ็ญนภา ศรีหริ่ง; Pennapa Sriring; รัตน์ดาวรรณ คลังกลาง; Ratdawan Klungklang; จุฬารัตน์ ห้าวหาญ; Chularat Howharn; ดิษฐพล ใจซื่อ; Dittaphol Jaisue; อภิรดี เจริญนุกูล; Apiradee Charoennukul; ทิพาวรรณ สมจิตร; Thipawan Somjit; ชลดา กิ่งมาลา; Chonlada Kingmala; ปณิตา ครองยุทธ; Panita Krongyuth (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      เป็นการวิจัยเก็บข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อถอดบทเรียนการดำเนินงาน เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคโควิด-19 ในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและเพื่อสังเคราะห์ข้อเสน ...
    • การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงแบบบูรณาการโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อเตรียมรับการระบาดซ้ำของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 

      สุพิชญา หวังปิติพาณิชย์; Supichaya Wangpitipanit; แสงเดือน ปิยะตระกูล; Sangduen Piyatrakul; ธิดา ทองวิเชียร; Thida Tongvichean (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-08)
      การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบริบทสถานการณ์การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงแบบบูรณาการโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อเตรียมรับการระบาดซ้ำของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 2) ศึกษารูปแบบแ ...
    • การตอบสนองและเตรียมการของระบบบริการสุขภาพไทยต่อวิกฤติการระบาดของ COVID-19: การดำเนินการของโรงพยาบาล และผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมภายในขอบเขตของระบบสุขภาพ (รายงานฉบับย่อ) 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; นพพล วิทย์วรพงศ์; Nopphol Witvorapong; ธีระ วรธนารัตน์; Thira Woratanarat; สุรีรัตน์ งามเกียรติไพศาล; Sureerat Ngamkiatphaisan; วรากร วิมุตติไชย; Varakorn Wimuttichai; ฬุฬีญา โอชารส; Luleeya O-charot; ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์; Patarawan Woratanarat; อารียา จิรธนานุวัฒน์; Areeya Jirathananuwat; จตุรวิทย์ ทองเมือง; Chaturawit Thongmuang; ทักษิณา วัชรีบูรพ์; Tuksina Watchareeboon; พรหมภัสสร สุทธิโยธา; Phrompassorn Suddhiyodha; สุจิตรา วงศ์เครือศร; Sujitra Wongkruesorn; นรุตม์ชัย สุขพันธ์; Narutchai Sukpun; เอกจิตรา สุขกุล; Ake-Chittra Sukkul; นาถนภา คำลอยฟ้า; Nathnapha Khumloyfa (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      โครงการวิจัยการตอบสนองและเตรียมการของระบบบริการสุขภาพไทยต่อวิกฤติการระบาดของ COVID-19: การดำเนินการของโรงพยาบาล และผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมภายในขอบเขตของระบบสุขภาพ เป็นการวิจัยในรูปแบบผสมผสาน (Mixed method) ประกอบด้วย 6 ...
    • การตอบสนองและเตรียมการของระบบบริการสุขภาพไทยต่อวิกฤติการระบาดของ COVID-19: การดำเนินการของโรงพยาบาล และผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมภายในขอบเขตของระบบสุขภาพ (รายงานฉบับสมบูรณ์) 

      จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์; Jiruth Sriratanaban; นพพล วิทย์วรพงศ์; Nopphol Witvorapong; ธีระ วรธนารัตน์; Thira Woratanarat; สุรีรัตน์ งามเกียรติไพศาล; Sureerat Ngamkiatphaisan; วรากร วิมุตติไชย; Varakorn Wimuttichai; ฬุฬีญา โอชารส; Luleeya O-charot; ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์; Patarawan Woratanarat; อารียา จิรธนานุวัฒน์; Areeya Jirathananuwat; จตุรวิทย์ ทองเมือง; Chaturawit Thongmuang; ทักษิณา วัชรีบูรพ์; Tuksina Watchareeboon; พรหมภัสสร สุทธิโยธา; Phrompassorn Suddhiyodha; สุจิตรา วงศ์เครือศร; Sujitra Wongkruesorn; นรุตม์ชัย สุขพันธ์; Narutchai Sukpun; เอกจิตรา สุขกุล; Ake-Chittra Sukkul; นาถนภา คำลอยฟ้า; Nathnapha Khumloyfa (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564)
      โครงการวิจัยการตอบสนองและเตรียมการของระบบบริการสุขภาพไทยต่อวิกฤติการระบาดของ COVID-19: การดำเนินการของโรงพยาบาล และผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมภายในขอบเขตของระบบสุขภาพ เป็นการวิจัยในรูปแบบผสมผสาน (Mixed method) ประกอบด้วย 6 ...
    • การติดตามการเปลี่ยนแปลงของภูมิต้านทานระยะยาวต่อ SARS-CoV-2 ในผู้ป่วยที่หายจากโรคโควิด-19 

      ยง ภู่วรวรรณ; Yong Poovorawan; พิชญา นาควัชระ; Pijaya Nagavajara; ณศมน วรรณลภากร; Nasamon Wanlapakorn; จินตนา จิรถาวร; Chintana Chirathaworn; จิระ จันท์แสนโรจน์; Jira Chansaenroj; จิรัชญา พื้นผา; Jiratchaya Puenpa; ฤทธิเดช ยอแสง; Ritthideach Yorsaeng; อรุณี ธิติธัญญานนท์; Arunee Thitithanyanont; มานิต ศรีประโมทย์; Manit Sripramote; ปิติ ฉลองวิริยะเลิศ; Piti Chalongviriyalert; สุพรรณี จิรจริยาเวช; Supunnee Jirajariyavej; ภัทรพร เกียรติปานอภิกุล; Phatharaporn Kiatpanabhikul; จตุพร ไสยรินทร์; Jatuporn Saiyarin; ชุลีกร โสอุดร; Chuleekorn Soudorn; อรวรรณ เธียรไฝ่ดี; Orawan Thienfaidee; ฐิติสันต์ ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา; Thitisan Palakawong Na Ayuthaya; ฉันทพัทธ์ พฤกษะวัน; Chantapat Brukesawan; ดุจใจ ชัยวานิชศิริ; Dootchai Chaiwanichsiri; ดวงนภา อินทรสงเคราะห์; Duangnapa Intharasongkroh (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-01)
      ประเทศไทยเป็นอีกประเทศที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่งส่งผลกระทบต่อระบบสาธารณสุข และ เศรษฐกิจของประเทศ ดังนั้นการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในเชื้อ SARS-CoV-2 ให้รวดเร็วที่สุด จึงเป็นสิ่งสำคัญ ดังนั้นงานวิจัยนี้ ...
    • การติดตามการเปลี่ยนแปลงมิติสุขภาพของผู้สูงอายุไทยในช่วงก่อนระบาดของโรคโควิด-19 ช่วงระบาดและฐานวิถีชีวิตใหม่ 

      สุภาพ อารีเอื้อ; Suparb Aree-Ue; อินทิรา รูปสว่าง; Inthira Roopsawang; ทีปทัศน์ ชินตาปัญญากุล; Teepatad Chintapanyakun; ยุวดี สารบูรณ์; Yuwadee Saraboon; ศิริรัตน์ อินทรเกษม; Sirirat Intharakasem; วิโรจน์ กวินวงศ์โกวิท; Viroj Kawinwonggowit (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงมิติสุขภาพของผู้สูงอายุ ได้แก่ กิจกรรมทางกาย ภาวะเปราะบางทางกาย ภาวะเปราะบางทางสังคม ระยะการเคลื่อนที่ในชีวิตประจำวัน ภาวะซึมเศร้า และคุณภาพชีวิตของผู้สูงอ ...
    • การถอดบทเรียนการบริหารจัดการกำลังคนด้านการพยาบาลและสมรรถนะของพยาบาลเพื่อตอบสนองภาวะวิกฤตโควิด-19 ในระบบบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ เขตสุขภาพที่ 10 

      จรูญศรี มีหนองหว้า; Jaroonsree Meenongwah; ปัทมา ผ่องศิริ; Pattama Phongsiri; สาดี แฮมิลตัน; Sadee Hamilton; สุเพียร โภคทิพย์; Supian Pokathip; วิโรจน์ เซมรัมย์; Wirote Semrum; เอมอร บุตรอุดม; Aimon Butudom; พนัชญา ขันติจิตร; Phanatchaya Khantichitr; ปัฐมาพร ใจกล้า; Pattamaporn Jaikla; รัตนา บุญพา; Rattana Boonpha; เชาวลิต ศรีเสริม; Chaowalit Srisoem; อรดี โชคสวัสดิ์; Oradee Choksawat (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-06)
      ผู้ป่วย COVID-19 ที่เพิ่มมากขึ้นทำให้มีการขยายบริการสุขภาพ ซึ่งพยาบาลมีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้ป่วยและบริการสุขภาพด้านอื่นๆ ทำให้มีการบริหารอัตรากำลังและพัฒนาสมรรถนะที่แตกต่างกันตามบริบทของโรงพยาบาล การวิจัยแบบถอดบทเรียนนี ...
    • การถอดบทเรียนรูปแบบการดำเนินงาน เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในชุมชนของอาสาสมัครสาธารณสุข ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทย 

      ฉวีวรรณ ศรีดาวเรือง; Chaweewan Sridawruang; จิราพร วรวงศ์; Chiraporn Worawong; เพ็ญนภา ศรีหริ่ง; Pennapa Sriring; รัตน์ดาวรรณ คลังกลาง; Ratdawan Klungklang; จุฬารัตน์ ห้าวหาญ; Chularat Howharn; ดิษฐพล ใจซื่อ; Dittaphol Jaisue; อภิรดี เจริญนุกูล; Apiradee Charoennukul; ทิพาวรรณ สมจิตร; Thipawan Somjit; ชลดา กิ่งมาลา; Chonlada Kingmala; ปณิตา ครองยุทธ; Panita Krongyuth (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2564-07)
      การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อถอดบทเรียนการดำเนินงาน เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคโควิด-19 ปัจจัยความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรคและสังเคราะห์ข้อเสนอเชิงนโยบายในการพัฒนาการดำเนินงานเฝ้าระวังฯ ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ...
    • การถอดบทเรียนเส้นทางการรับบริการสุขภาพของผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ในเขตสุขภาพที่ 9 

      สุพิตรา เศลวัตนะกุล; Supitra Selavattanakul; ธิดารัตน์ คณึงเพียร; Thidarat Kanungpiarn; สมจิตต์ เวียงเพิ่ม; Somjitt Wiangperm; ชัชฎาพร จันทรสุข; Chutchadaporn Jantarasuk; ควันเทียน วงศ์จันทรา; Kuantean Wongchantra; ชลดา กิ่งมาลา; Chonlada Kingmala (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2565-05)
      การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อถอดบทเรียนเส้นทางการรับบริการสุขภาพของผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโควิด–19 ในเขตสุขภาพที่ 9 โดยการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods) เริ่มต้นด้วยวิธีการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative Method) ...