Now showing items 250-269 of 330

    • พฤติกรรมการสูบบุหรี่ของคนไทย 

      เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-06)
      โดยทั่วไปการสูบบุหรี่หมายความรวมถึงการใช้ยาสูบ (tobacco) ในหลายวิธีด้วยกัน ที่แพร่หลายมากที่สุดคือ การมวนใบยาสูบด้วยกระดาษทั้งที่ทำในโรงงานหรือมวนเองที่บ้าน การสูบโดยนำยาสูบบรรจุในกล้องแล้วจุดสูบคือไปป์ (pipe) หรือเคี้ยว ...
    • พัฒนาระบบดูแลผู้สูงอายุคำตอบอยู่ที่ชุมชน 

      วัชริน สินธวานนท์ (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2552-06)
    • พัฒนาแนวทางและรูปแบบการจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรังเชิงรุก 

      พิสิษฐ์ พิริยาพรรณ; Pisit Piriyapun (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2552-06)
    • ภาระงานของบุคลากรและประสิทธิภาพการใช้เตียงโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลจังหวัด ปี 2543 

      วลัยพร พัชรนฤมล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2544)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปริมาณงานรักษาของบุคลาการ 3 สายงานได้แก่ แพทย์ เภสัชกร และพยาบาลวิชาชีพ งบประมาณ 2543 ของโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลจังหวัดทุกแห่งในประเทศไทยทำการศึกษาระหว่างเดือนมีนาคม – มิถุนายน ...
    • ภาระโรค 

      ยศ ตีระวัฒนานนท์; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
      การวัดสถานะสุขภาพของประชากรเป็นการบอกถึงสถานะสุขภาพของของประชากร ซึ่งเครื่องชี้วัดส่วนใหญ่ไม่สามารถที่จะแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระหว่าโรคที่ทำให้ตาย กับโรคที่ก่อให้เกิดความพิการหรือการเจ็บป่วยเรื้อรังได้ จึงได้มีความพยายา ...
    • มหัศจรรย์ งดเหล้าเข้าพรรษา 

      บัณฑิต ศรไพศาล (ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา, 2549)
    • มาตรฐานและแนวทางการดำเนินการสำหรับการทบทวนพิจารณาจริยธรรมการวิจัยทางสุขภาพที่กระทำในมนุษย์ 

      วิชัย โชควิวัฒน; Vichai Chokevivat (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2556)
      เอกสารนี้จัดทำขึ้นสำหรับบุคคลและองค์กร ซึ่งเกี่ยวข้องกับการศึกษาวิจัยทางสุขภาพที่กระทำในมนุษย์ ได้แก่ การศึกษาวิจัยทางชีวเวชศาสตร์, พฤติกรรมศาสตร์, สังคมศาสตร์ และการศึกษาวิจัยทางระบาดวิทยา เอกสารนี้จัดทำขึ้นเพื่อให้คำแน ...
    • มาทำความเข้าใจการประเมินทางเศรษฐศาสตร์กันดีกว่า (ตอนที่ 1) 

      ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
    • มาทำความเข้าใจการประเมินทางเศรษฐศาสตร์กันดีกว่า (ตอนที่ 2) 

      ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
    • “มึนศีรษะ” เรื่องง่ายๆ แต่ไม่ธรรมดา 

      สุกัญญา หังสพฤกษ์ (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2552-02)
    • ระบบการดูแลผู้พิการในชุมชน 

      พนิดา วสุธาพิทักษ์; ขูวัส ฤกษ์ศิริสุข (สำนักงานวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน (สพช.) สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555-01)
    • ระบบการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา 

      ชุติมา อรรคลีพันธุ์; วนิดา แก้วผนึกรังษี; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      กระทรวงสาธารณสุขโดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาได้ริเริ่มพัฒนางานติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยามาตั้งแต่ พ.ศ. 2526 โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะรวบรวมและวิเตราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงและอันตรายจากการใช้ยาที่เกิดขึ้นในประเทศ ...
    • ระบบค่าปรับทางอาญา 

      อิสร์กุล อุณหเกตุ; Itsakul Unahakate (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2556)
      โทษปรับ คือโทษทางอาญาฐานหนึ่ง ซึ่งมีข้อดีในแง่ต้นทุนการบริหารจัดการที่ต่ำกว่าโทษจำคุก คุมประพฤติ และกักบริเวณ นอกจากนี้ สังคมยังไม่ต้องสูญเสียทรัพยากรมนุษย์จากโทษจำคุก และผู้กระทำผิดไม่เกิด ‘ตราบาป’ ดังนั้นการใช้โทษปรับแ ...
    • ระบบประกันสังคมของไทย 

      ภัทชา ด้วงกลัด (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2555)
      ระบบประกันสังคมเป็นหลักประกันสังคมสำคัญที่ช่วยให้กำลังแรงงานของประเทศจัดการกับความเสี่ยงในการดำรงชีวิตได้ ซึ่งถือเป็นพื้นฐานสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการลดความเหลื่อมล้ำในสังคม ถึงแม้ว่าระบบการประกันสังคมของไทยจะมีมานานกว่า ...
    • ระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย - คำถามวิจัยที่สำคัญ 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)
      โครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าดำเนินการเต็มพื้นที่ในปีงบประมาณ ๒๕๔๕ เนื่องจากเป็นโครงการระดับชาติ การกำหนดและปรับเปลี่ยนนโยบายเพื่อให้โครงการฯบรรลุวัตถุประสงค์มีความจำเป็นจะต้องอาศัยข้อมูลทางวิชาการและงานวิจัยที่สำคัญ ๖ ด้าน ...
    • ระบบภาษีเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ 

      ภาวิน ศิริประภานุกูล; Pawin Siriprapanukul (สำนักงานปฏิรูป (สปร.), 2555)
      โดยหลักการแล้ว การวิเคราะห์ระบบภาษีของประเทศใดประเทศหนึ่ง จำเป็นจะต้องวิเคราะห์ควบคู่ไปกับโครงสร้างรายจ่ายของรัฐบาลในประเทศนั้นๆ ด้วย เนื่องจากโดยปกติแล้ว ภาษีคือแหล่งรายได้ที่สำคัญที่สุดของรัฐบาล ซึ่งในกรณีที่รัฐบาลมีคว ...
    • ระบบสุขภาพในอุดมคติ 

      เกษม วัฒนชัย (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2552-02)
    • ระหว่างคนจนกับคนรวย ใครได้รับประโยชน์จากการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; กัญจนา ติษยาธิคม (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2550)
      การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตอบคำถามต่อสาธารณะว่า ระหว่างคนจนกับคนรวย ใครคือผู้ที่ได้รับประโยชน์จากการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ทั้งในด้านการใช้บริการสุขภาพและการได้รับประโยชน์จากงบประมาณภาครัฐ ระหว่างกลุ่มประ ...
    • รายงานการวิเคราะห์สภาพการแข่งขันธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนและอุตสาหกรรมโรงภาพยนตร์ 

      พรเทพ เบญญาอภิกุล; วรรณวิภางค์ มานะโชติพงษ์ (มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ, 2556)
      นำเสนอบทสำรวจกรณีศึกษาแนวทางการกำหนดขอบเขตตลาดที่เหมาะสมในประเทศสหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักร, บทวิเคราะห์ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนในแง่ขอบเขตและโครงสร้างตลาด แนวโน้มการควบรวมกิจการที่เกิดขึ้นในช่วงที่ผ่านมา บทบาทการกำกับดูแลของภาครัฐ ...
    • รายงานประจำปี 2551 โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ 

      โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2551)