Browsing หน่วยงานเครือข่าย สวรส. - HSRI Alliance by Author "ยศ ตีระวัฒนานนท์"
Now showing items 21-38 of 38
-
การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับวัคซีนป้องกันการติดเชื้อ Human Papillomavirus ( HPV) ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ในประเทศไทยและผลต่อความรู้ ทัศนคติ การตัดสินใจรับวัคซีนของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
เชิญขวัญ ภุชฌงค์; ธีระ ศิริสมุด; วันดี กริชอนันต์; กาญจนาถ อุดมสุข; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ, 2552-09) -
ความคุ้มค่าของการผ่าตัดต้อกระจกโดยใส่เลนส์แก้วตาเทียมชนิดนิ่มเปรียบเทียบกับชนิดแข็งในบริบทของประเทศไทย
กัลยา ตีระวัฒนานนท์; รักมณี บุตรชน; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; ธีระ ศิริสมุด; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; ขวัญใจ วงศ์กิตติรักษ์; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2552-09)การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเข้าถึงการผ่าตัดต้อกระจกและปัจจัยที่มีผลต่อการผ่าตัดต้อกระจกในผู้ป่วยสิทธิสวัสดิการข้าราชการและสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ (1) ข้อมูลผู้ป่วยในที่มีสิทธิสวัสดิ ... -
ความคุ้มค่าและผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายของการผ่าตัดผ่านกล้องในระบบประกันสุขภาพสำหรับประเทศไทย
วชิรานี วงศ์ก้อม; คัคนางค์ ไชยศิริ; อุษา ฉายเกล็ดแก้ว; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพ (HITAP)สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2552-09)การผ่าตัดผ่านกล้องเป็นการผ่าตัดโดยใช้กล้องใส่เข้าไปตรวจภายในช่องท้องเพื่อการรักษาหรือตรวจวินิจฉัย เมื่อเปรียบเทียบกับการผ่าตัดแบบเปิดหน้าท้อง ผู้ป่วยที่ผ่าตัดผ่านกล้องจะมีแผลผ่าตัดที่มีขนาดเล็กกว่า ทำให้สูญเสียเลือดน้อยกว่า ... -
ความซับซ้อนของระบบสุขภาพ: ความเข้าใจสำหรับการปฏิรูประบบสุขภาพ
ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547) -
งบประมาณในการดำเนินนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า: 1,202 บาทต่อคนต่อปีมาจากไหน
วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ภูษิต ประคองสาย (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2544)นโยบายรัฐบาลในการดำเนินการโครงการประกันสุขภาพถ้วนหน้าในปี 2544 นั้น กระทรวงสาธารณสุขและนักวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ได้ตัดสินใจใช้รูปแบบการจ่ายเงินแก่สถานพยาบาล ในระบบปลายปิด ได้แก่ รายจ่ายแบบเหมาจ่ายรายหัวสำหรับบริการผู้ป่วยนอก ... -
ต้นทุนประสิทธิผลและต้นทุนอรรถประโยชน์ของการรักษาทดแทนไตในประเทศไทย
ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตอบคำถามว่า การเพิ่มสิทธิประโยชนืสำหรับการรักษาทดแทนไตด้วยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมหรือการล้างช่องท้องอย่างต่อเนื่องให้กับผู้ประกันตนในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าจะมีความคุ้มค่าหรือไม่ ... -
ต้นทุนอรรถประโยชน์ของการผ่าตัดด้วยกล้องเปรียบเทียบกับการผ่าตัดแบบเปิดในการรักษานิ่วในถุงน้ำดี ข้อมูลสำหรับระบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
ยศ ตีระวัฒนานนท์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; สัญญา ศรีรัตนะ; ทวี รัตนชูเอก; ทวีสิน ตันประยูร; ชัยเวช ธนไพศาล; ธำรง ตรรกวาทการ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)ปัจจุบันสัดส่วนการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีด้วยกล้องในประเทศไทยมีน้อยมากเมื่อเทียบกับต่างประเทศทั้งนี้เนื่องจากขาดแรงจูงใจในการให้บริการ จึงศึกษาเพื่อหาต้นทุนอรรถประโยชน์ของการผ่าตัดนิ่วในถุงน้ำดีด้วยกล้องเปรียบเทียบกับการผ่า ... -
ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ถนอม สุภาพร; จิตปราณี วาศวิท (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากร และแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ... -
ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าในประเทศไทย
ภูษิต ประคองสาย; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; ถนอม สุภาพร; จิตปราณี วาศวิท (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ทางเลือกเชิงนโยบายสำหรับขยายการเข้าถึงบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าโดยใช้กรอบแนวความคิดทั้งในด้านประสิทธิภาพของการใช้ทรัพยากรและแนวคิดความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ... -
นโยบายทันตสาธารณสุขไทย เกาะติดปัญหา ใช้วิชาการ สานสร้างความร่วมมือ
วีระศักดิ์ พุทธาศรี; จันทนา พัฒนเภสัช; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; ปฤษฐพร กิ่งแก้ว; ยุวดี ลีลัคนาวีระ; ชนิดา เลิศพิทักษ์พงศ์; วันทนีย์ กุลเพ็ง; จันทนา อึ้งชูศักดิ์; ปิยะดา ประเสริฐสม; ยศ ตีระวัฒนานนท์ (โครงการประเมินเทคโนโลยีและนโยบายด้านสุขภาพสำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2552-06) -
ผลดี ผลเสีย การฝากครรภ์พิเศษในโรงพยาบาลรัฐ
ยศ ตีระวัฒนานนท์; ฐิติมา สุนทรสัจ; สัญญา ศรีรัตนะ; ปรัศนี ทิพโสถิตย์; วัชรา ริ้วไพบูลย์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นจากการทำเวชปฏิบัติของสูติแพทย์ฝากครรภ์พิเศษทั้งในมุมมองของผู้ใช้และแพทย์ผู้ให้บริการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณภาพและความเชื่อมั่นต่อบริการของหญิงที่ไม่ฝากครรภ์พิเศษ ... -
ภาระโรค
ยศ ตีระวัฒนานนท์; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)การวัดสถานะสุขภาพของประชากรเป็นการบอกถึงสถานะสุขภาพของของประชากร ซึ่งเครื่องชี้วัดส่วนใหญ่ไม่สามารถที่จะแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระหว่าโรคที่ทำให้ตาย กับโรคที่ก่อให้เกิดความพิการหรือการเจ็บป่วยเรื้อรังได้ จึงได้มีความพยายา ... -
มาทำความเข้าใจการประเมินทางเศรษฐศาสตร์กันดีกว่า (ตอนที่ 1)
ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545) -
มาทำความเข้าใจการประเมินทางเศรษฐศาสตร์กันดีกว่า (ตอนที่ 2)
ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545) -
สถานการณ์และแนวโน้มในอนาคตที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีทางการแพทย์กับการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่ยั่งยืน
ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05) -
อุปสงค์ของบริการทดแทนไตภายใต้ระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
วิชช์ เกษมทรัพย์; ยศ ตีระวัฒนานนท์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2549)การศึกษาครั้งนี้เป้นการประมาณการอุปสงค์ของการบริการทดแทนไตสำหรับผู้มีสิทธิ์ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าซึ่งหากรัฐบาลตัดสินใจให้ขยายการเข้าถึงยริการทดแทนไตสำหรับผู้มีสิทธิ์ทุกคนอาจส่งผลให้ความชุกและอัตราอุบัติการณ์การเข ... -
เราได้อะไรจากคดีหมอฮาโรลด์ ชิปแมน
ยศ ตีระวัฒนานนท์ (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)ท่านผู้อ่านลองนึกถึงประชาชนที่รู้จักกับแพทย์คนหนึ่งและได้รับการดูแลรักษาจากแพทย์ท่านนี้มาเป็นเวลานานนับสิบปี อาจจะมีญาติหรือผู้ที่รู้จักอันเป็นที่รักใคร่ได้เสียชีวิตไปในระหว่างการดูแลรักษาบ้างแล้วจู่ๆก็มาทราบในภายหลังว่า ... -
แบบแผนการคลอดบุตรของหญิงไทยในรอบ 12 ปี (พ.ศ. 2533–2544)
ยศ ตีระวัฒนานนท์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; สัญญา ศรีรัตนะ; ปรัศนี ทิพยโสตถิ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจแบบแผนการคลอดบุตรของหญิงไทยในช่วง 12 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2533-2544 โดยส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ไปยังโรงพยาบาลรัฐและเอกชนทั่วประเทศจำนวนสองครั้งในปี พ.ศ. 2540 และ พ.ศ. 2545 โดยการสุ่มตัวอย่างแบบ ...