Now showing items 235-254 of 330

    • ปฏิญญาเฮลซิงกิของแพทยสมาคมโลก(ค.ศ.2000)หลักการจริยธรรมสำหรับการศึกษาวิจัยทางการแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ 

      วิชัย โชควิวัฒน; สุชาติ จองประเสริฐ (สถาบันพัฒนาการคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์, 2551-03)
      ปฏิญญาเฮลซิงกิเป็นหลักเกณฑ์จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ที่ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางที่สุดทั่วโลก นับตั้งแต่ประกาศครั้งแรกโดยสมัชชาของแพทยสภาคมโลกที่กรุงเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ เมื่อปี พ.ศ. 2507 ปฏิญญาดังกล่างมีการปรับปรุ ...
    • ประสบการณ์การบริหารจัดการหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิ (PCU management) 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2550-08)
      การรวบรวมประสบการณ์และบทเรียนที่เกิดขึ้นเรื่อง การบริหารจัดการที่หน่วยบริการปฐมภูมิ (Primary Care Unit: PCU) หรือสถานีอนามัยหรือศูนย์สุขภาพชุมชน เป็นผลที่มาจากการแลกเปลี่ยนระหว่างคนทำงาน PCU เพื่อเรียนรู้กระบวนการทำงานว่ ...
    • ประสบการณ์การบริหารจัดการหน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิในเขตเมือง 

      สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2550-08)
      การสาธารณสุขในเขตเมือง เป็นโจทย์ใหญ่ที่มีลักษณะพิเศษแตกต่างจากการสาธารณสุขในเขตชนบท แม้ว่าส่วนใหญ่การจัดโครงสร้างการบริหารจัดการหน่วยบริการปฐมภูมิ (CUP : Contracted Unit for Primary care) ในเขตเมืองในขอบข่ายของกระทรวงสาธ ...
    • ประสบการณ์ดูแลผู้ป่วยเบาหวานแบบคนไข้เป็นศูนย์กลาง 

      อรวรรณ ตะเวทิพงศ์ (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2552-06)
    • ปัจจัยผลักดันระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าจากสถานการณ์และการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ 

      สุพัตรา ศรีวณิชชากร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุขสำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนาหลักประกันสุขภาพไทย, 2551-05)
    • ปัจจัยเสี่ยงต่ออุบัติเหตุทางถนน 

      ยอดพล ธนาบริบูรณ์ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-03)
      การวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงต่ออุบัติเหตุทางถนนของการศึกษานี้ ใช้ข้อมูลเฝ้าระวังการบาดเจ็บ (Injury Surveillance หรือ IS) จากโรงพยาบาล 28 แห่งทั่วประเทศ ระหว่างปี พ.ศ. 2542 – 2546 (สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข) ...
    • ปัจจัยในการตัดสินใจเชิงนโยบายและสิ่งท้าทายของนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; ภูษิต ประคองสาย; จิตปราณี วาศวิท (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      การตัดสินใจเลือกใช้วิธีการจ่ายเงินให้กับสถานพยาบาลในลักษณะการเหมาจ่ายรายหัว(CAPITION CON-TRACT MODEL) ร่วมกับการจ่ายเงินตามกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (DRG) ในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแทนที่จะใช้วิธีการจ่ายเงินตามรายการร ...
    • ผลกระทบจากหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาใหม่ที่มีต่อการขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญในประเทศไทย 

      ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; สุกัญญา เจียระพงษ์; อัญชลี จิตรักนที; สุวิมล ฉกาจนโรดม (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
      การวิจัยเป็นการศึกษาผลกระทบที่มีต่อการขึ้นทะเบียนตำรับยาสามัญของเภสัชภัณฑ์ที่เป็นยาใหม่อันเนื่องมาจากมาตรการเชิงบริหารที่ให้สิทธิผูกขาดทางการตลาดในการจำหน่วยยาต้นแบบบางชนิดที่ไม่อยู่ในข่ายที่จะได้รับความคุ้มครองตามพระราช ...
    • ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของการติดเชื้อเอชไอวีในเด็ก : กรณีศึกษาจังหวัดน่านปี 2545 

      อภิชาติ รอดสม; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2548)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินต้นทุนเศรษฐศาสตร์ในการดูแลรักษาเด็กติดเชื้อเอชไอวีทั้งด้านผู้ให้บริการ และครอบครัวผู้ป่วย รวมทั้งศึกษาผลกระทบต่อครอบครัวผู้ป่วย ทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมโดยสำรวจครอบครัวเด็กอายุระหว่าง ...
    • ผลกระทบบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ต่อโรงพยาบาลภาครัฐ 

      อารยา ศรีไพโรจน์; ศรีเพ็ญ ตันติเวสส; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2539 จัดทำขึ้นโดยใช้หลักการและแนวทางในการคัดเลือกยาขององค์การอนามัยโลกที่กำหนดให้มีจำนวนยาที่จำเป็นที่น้อยที่สุด (Minimal List) ต่อมามติของคณะรัฐมนตรีในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541 ได้กำหนดให้ผู้ป่ว ...
    • ผลดี ผลเสีย การฝากครรภ์พิเศษในโรงพยาบาลรัฐ 

      ยศ ตีระวัฒนานนท์; ฐิติมา สุนทรสัจ; สัญญา ศรีรัตนะ; ปรัศนี ทิพโสถิตย์; วัชรา ริ้วไพบูลย์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2546)
      การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาสาเหตุและผลที่เกิดขึ้นจากการทำเวชปฏิบัติของสูติแพทย์ฝากครรภ์พิเศษทั้งในมุมมองของผู้ใช้และแพทย์ผู้ให้บริการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคุณภาพและความเชื่อมั่นต่อบริการของหญิงที่ไม่ฝากครรภ์พิเศษ ...
    • ผู้มีรายได้น้อย กับการเข้าถึงบริการทดแทนไต: วิเคราะห์และข้อเสนอเชิงนโยบาย 

      วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร; วิชช์ เกษมทรัพย์; สุวรรณา มูเก็ม (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2543)
      ในประเทศไทย 76.7% ของผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย (End-stage Renal Disease, ESRD) ไม่สามารถเข้าถึงบริการทดแทนไต เพราะเป็นบริการที่มีราคาแพงจนอาจทำให้ผู้ป่วยล้มละลาย (Catastrophic illiness) สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทยรายงา ...
    • พยาบาลเวชปฏิบัติกับการพัฒนาบริการปฐมภูมิ 

      สมจิต หนุเจริญกุล (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2552-02)
    • พรมแดนแห่งความรู้: หนึ่งทศวรรษของการประเมินการใช้ยาในโรงพยาบาล 

      รุ่งทิวา หมื่นปา; เจริญ ตรีศักดิ์; ชุติมา อรรคลีพันธุ์; สุพล ลิมวัฒนานนท์; บัญญัติ สิทธิธัญกิจ; จุฬาภรณ์ ลิมวัฒนานนท์; อารีวรรณ เชี่ยวชาญวัฒนา; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2547)
      บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวน สังเคราะห์องค์ความรู้และข้อค้นพบต่างๆ เกี่ยวกับการประเมินการใช้ยาเชิงคุณภาพในประเทศไทยใน 10 ปีที่ผ่านมาโดยการทบทวนวิทยานิพนธ์และรายงานการวิจัยที่ตีพิมพ์สรุปการประเมินการใช้ยาเป้าหมาย 5 ...
    • พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ ใครได้-ใครเสีย : กรณีศึกษาจังหวัดขอนแก่น 

      สุพล ลิมวัฒนานนท์; ศิริวรรณ พิทยรังสฤษฏ์; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข, 2544)
      ในประเทศไทยการบาดเจ็บจากอุบัติภัยเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญอันดับสอง รองจากโรคหัวใจและหลอดเลือด อัตราตายจากอุบัติภัยต่างๆ ดารบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรทางบกมีสัดส่วนที่สูง ภาพที่2 แสดงจำนวนอุบัติเหตุ การบาดเจ็บ ...
    • พฤติกรรมการสูบบุหรี่ของคนไทย 

      เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม; พรพันธุ์ บุณยรัตพันธุ์ (สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ, 2549-06)
      โดยทั่วไปการสูบบุหรี่หมายความรวมถึงการใช้ยาสูบ (tobacco) ในหลายวิธีด้วยกัน ที่แพร่หลายมากที่สุดคือ การมวนใบยาสูบด้วยกระดาษทั้งที่ทำในโรงงานหรือมวนเองที่บ้าน การสูบโดยนำยาสูบบรรจุในกล้องแล้วจุดสูบคือไปป์ (pipe) หรือเคี้ยว ...
    • พัฒนาระบบดูแลผู้สูงอายุคำตอบอยู่ที่ชุมชน 

      วัชริน สินธวานนท์ (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2552-06)
    • พัฒนาแนวทางและรูปแบบการจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรังเชิงรุก 

      พิสิษฐ์ พิริยาพรรณ; Pisit Piriyapun (สถาบันวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน, 2552-06)
    • ภาระงานของบุคลากรและประสิทธิภาพการใช้เตียงโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลจังหวัด ปี 2543 

      วลัยพร พัชรนฤมล; วิโรจน์ ตั้งเจริญเสถียร (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2544)
      การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปริมาณงานรักษาของบุคลาการ 3 สายงานได้แก่ แพทย์ เภสัชกร และพยาบาลวิชาชีพ งบประมาณ 2543 ของโรงพยาบาลชุมชนและโรงพยาบาลจังหวัดทุกแห่งในประเทศไทยทำการศึกษาระหว่างเดือนมีนาคม – มิถุนายน ...
    • ภาระโรค 

      ยศ ตีระวัฒนานนท์; กนิษฐา บุญธรรมเจริญ (สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ, 2545)
      การวัดสถานะสุขภาพของประชากรเป็นการบอกถึงสถานะสุขภาพของของประชากร ซึ่งเครื่องชี้วัดส่วนใหญ่ไม่สามารถที่จะแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระหว่าโรคที่ทำให้ตาย กับโรคที่ก่อให้เกิดความพิการหรือการเจ็บป่วยเรื้อรังได้ จึงได้มีความพยายา ...